For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for การว่างงานในประเทศไทย.

การว่างงานในประเทศไทย

ประเทศไทยมีอัตราการว่างงานต่ำมาก โดยอยู่ที่ร้อยละ 0.9 ในปี 2557[1] แนวโน้มการว่างงานในประเทศไทยไม่เปลี่ยนไปมากวัฏจักรธุรกิจตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ทั่วไป เพราะโครงสร้างสังคมของไทยทำให้ผู้ว่างงานหางานทำใหม่ได้โดยเร็ว ส่งผลให้คนไทยวัยทำงานกว่าครึ่งประเทศประกอบอาชีพที่ไม่มั่นคง (งานรับจ้างทั่วไปและการช่วยงานครอบครัวโดยไม่มีรายได้ตอบแทน)[1] คนวัยทำงานกว่าร้อยละ 60 ประกอบอาชีพอย่างไม่เป็นทางการ ทำให้ผู้ที่มีงานทำเข้าไม่ถึงการให้บริการประกันสังคมและไม่ได้รับการคุ้มครองเท่าที่กฎหมายกำหนดไว้[1] อัตราการว่างงานที่ต่ำนี้ทำให้ตัวเลขดังกล่าวนำมาใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ของประเทศไม่ได้ เพราะปัญหาที่แท้จริงอยู่ที่การจ้างงานต่ำระดับ

สำนักข่าวบลูมเบิร์กรายงานว่าอัตราการว่างงานในไทยอยู่ที่ร้อยละ 0.56 ในปี 2558[2] ซึ่งสวนกระแสโลกที่เศรษฐกิจได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันดิบที่ต่ำลง วิกฤตเศรษฐกิจในยุโรป และการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าอัตราการว่างงานในไทยที่ต่ำนี้เกิดได้จากหลายสาเหตุ อนึ่ง ประเทศไทยมีระบบประกันสังคมที่ไม่เข้มแข็งและน้อยคนจะสามารถเข้าถึงการประกันการว่างงาน ทำให้ผู้ทำงานไม่สามารถจะทิ้งระยะห่างหลังจากตกงานได้นาน ประเทศไทยยังเป็นสังคมเกษตรกรรม ทำให้ผู้ที่ตกงานในเขตเมืองสามารถเลือกกลับไปทำไร่ทำนาได้โดยง่าย โดยผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมนี้มีมากถึงร้อยละ 40 ของแรงงาน[ต้องการอ้างอิง] นอกจากนี้ ประเทศไทยมีอัตราการเจริญพันธุ์ที่ต่ำมาก[ต้องการอ้างอิง] ทำให้มีคนรุ่นใหม่เข้ามาเริ่มทำให้ไม่มากในแต่ละปี แต่มีผู้เกษียณอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่งผลให้มีแรงงานไม่เพียงพอและอัตราการว่างงานต่ำลงโดยธรรมดา

ในปี 2561 สำนักข่าวบลูมเบิร์กจัดให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีดัชนีความทุกข์ยาก (misery index) ต่ำสุดในโลกเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน โดยนำตัวเลขอัตราว่างงาน 1.3% ของไทยในปี 2560 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยรายงานไปพิจารณา[3]

การจ้างงานต่ำระดับ

[แก้]

โครงการวิจัยการทำงานต่ำระดับในไทยปี 2547 พบว่าคนไทยทำงานไม่เต็มเวลาเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังทำงานต่ำระดับทั้งในด้านรายได้ เวลา และการศึกษา ผลวิจัยพบว่าผู้ที่ทำงานต่ำระดับมากที่สุดประกอบด้วยผู้ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ช่วยงานครอบครัว หรือผู้ที่ประกอบธุรกิจเอง ส่วนผู้ที่ทำงานต่ำระดับทางการศึกษาส่วนใหญ่เป็นผู้มีรายได้ดีและประกอบอาชีพที่มีผลตอบแทนดี[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 TNSO The National Statistical Office of Thailand. "over half of all Thailand’s workers are in vulnerable employment (defined as the sum of own-account work and unpaid family work) and more than 60 per cent are informally employed, with no access to any social security mechanisms." Thailand. A labour market profile, International Labour Organization, 2013.
  2. Thailand's Unemployment Rate is a Ridiculously Low 0.6%. Here's Why
  3. นายกปลื้มสื่อนอกยกไทยมีความสุขที่สุดในโลก4ปีซ้อน
  4. โครงการวิจัยการทำงานต่ำระดับ[ลิงก์เสีย]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
การว่างงานในประเทศไทย
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?