For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for วิธีใช้:มาร์กอัปไฟล์ภาพ.

วิธีใช้:มาร์กอัปไฟล์ภาพ

หน้านี้อธิบายวิธีการแสดงภาพและวิดีทัศน์ในหน้าวิกิพีเดีย

มาร์กอัพพื้นฐานของการเพิ่มภาพลงในหน้า คือ

[[ไฟล์:Example.jpg|thumb|ข้อความบรรยายภาพ]]


มาร์กอัพพื้นฐานของการเพิ่มวิดีทัศน์ลงในหน้า คือ

[[ไฟล์:Example.ogg|frame|ข้อความบรรยาย]]


มาร์กอัพไฟล์เริ่มจากด้วยชื่อไฟล์ซึ่งคำขึ้นต้น ไฟล์: นำหน้า มาร์กอัพไฟล์แสดงไฟล์ แต่เมื่อเติมตัวแปรเสริมเพิ่ม จะสามาถควบคุมการแสดงสภาพได้อย่างเข้มงวด มีการเติมรหัส เพื่อใส่คำบรรยายภาพ นิยามขนาด ตำแนห่งในหน้า และใส่ข้อความทางเลือกไว้สำหรับผู้พิการทางสายตา แต่ละรหัสหรือตัวแปรเสริมคั่นด้วยไพป์ (|) รหัสอาจเรียงลำดับอย่างใดก็ได้ โดยยกเว้นคำบรรยายภาพซึ่งควรเป็นลำดับสุดท้าย มาร์กอัพนี้มีเฉพาะชื่อไฟล์เท่านั้นที่จำเป็นต้องใส่ และต้องใส่เป็นลำดับแรก

หากบทความมีกล่องข้อมูลอยู่บนขวาแล้ว ที่ปกติสำหรับภาพแรกของบทความก็คือกล่องข้อมูลนั่นเอง กล่องข้อมูลจำนวนมากต้องใช้วากยสัมพันธ์แตกต่างจากที่อธิบายไว้ในหน้านี้

ประเภทไฟล์

[แก้]

ก่อนใช้ไฟล์ จะต้องอัปโหลดสู่วิกิพีเดียหรือวิกิมีเดียคอมมอนส์ แนะนำให้อัพโหลดไปยังคอมมอนส์ ไฟล์บนคอมมอนส์สามารถใช้ได้ในวิกิพีเดียทุกภาษาและโครงการพี่น้องของวิกิพีเดียทุกโครงการ ไฟล์ที่ใช้ภายใต้บทบัญญัติการใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบที่จำกัดต้องเก็บไว้บนวิกิพีเดียเท่านั้น ทั้งนี้ มาร์กอัพสำหรับไฟล์เหมือนกันไม่ว่าจะอัปโหลดไว้ที่ใด

สามารถอัปโหลดประเภทไฟล์ภาพต่อไปนี้ได้

รูปแบบภาพ
  • jpg/jpeg – แนะนำสำหรับภาพถ่าย
  • SVG – รูปแบบเวกเตอร์ที่แนะนำสำหรับภาพวาดและภาพประกอบศิลปะเส้น
  • png – แนะนำสำหรับภาพสัญรูปที่ไม่ใช่เวกเตอร์
  • GIF
รูปแบบวิดีทัศน์
รูปแบบเนื้อหาผสม

ขั้นตอนการอัพโหลดสู่คอมมอนส์

[แก้]

ถ้าคุณอยู่ที่คอมมอนส์ มีลิงก์อัปโหลดไฟล์ในแถบข้างทางซ้ายมือที่นำคุณไปสู่วิซาร์ดอัปโหลดโดยตรง มีลิงก์ในแถบข้างซ้ายมือจากหน้าวิกิพีเดียในหน้าใหม่ มองหา Commons Wizard (แนะนำสำหรับไฟล์เสรี) ในส่วนคอมมอนส์ในกล่องสีน้ำเงินด้านล่าง

ในหน้าแรก คุณลากและวางไฟล์จากคอมพิวเตอร์ของคุณ จะอัปโหลดได้พร้อมกันคราวละ 50 ไฟล์ ในหน้าที่สองคุณ ยืนยันลิขสิทธิ์ ที่จะใช้ ในหน้าสามคุณ เปลี่ยนชื่อ ภาพแต่ละภาพ ระบุวันที่ จัดหมวดหมู่และ บรรยาย ภาพ สามารถเลือกคัดลอกไปยังทุกภาพได้ เมื่อคลิกดำเนินการต่อ สาธารณะจะเข้าถึงทุกภาพได้ทันที

ภาวะการแสดงผล

[แก้]

มีภาวะการแสดงผล 4 อย่าง ได้แก่

  • พื้นฐาน (Basic)
  • ภาพขนาดย่อ (Thumbnail)
  • มีกรอบ (Framed)
  • ไม่มีกรอบ (Frameless)

ภาวะพื้นฐาน

[แก้]

ไฟล์ในภาวะพื้นฐานไม่เจาะจงภาวะการแสดงผล มีการแสดงผลไฟล์ที่ขนาดเต็มโดยปริยาย จะแสดงผลภาพในบรรทัดยกเว้นระบุการปรับแนวนอน

ภาวะภาพขนาดย่อ

[แก้]

ไฟล์ในภาวะภาพขนาดย่อใช้รหัส thumb หรือ thumbnail ซึ่งจะแสดงผลภาพขนาดย่อโดยมีคำบรรยายภาพ ขนาดโดยปริยายคือกว้าง 220 พิกเซลยกเว้นขนาดไฟล์เต็มเล็กกว่านั้น ผู้ใช้ลงทะเบียนสามารถระบุขนาดโดยปริยายของตนเองได้ตามต้องการ

ในสถานการณ์ปกติ เซิร์ฟเวอร์วิกิพีเดียจะปรับขนาดภาพลงอัตโนมัติ แต่ยกเว้นภาพ GIF เคลื่อนไหว แต่จะมีการดาวน์โหลด GIF ต้นฉบับ และการปรับขนาดภาพให้พอดีกับช่องว่างที่ได้รับจัดสรรหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับสมรรถนะของเบราว์เซอร์ วิดีทัศน์ก็ไม่มีการปรับขนาดลงเช่นกัน ซึ่งทำให้สิ้นเปลืองความกว้างแถบความถี่ ให้ใช้ภาวะมีกรอบหรืออัปโหลดไฟล์ความละเอียดต่ำลง

ภาวะมีกรอบ

[แก้]

ไฟล์ในภาวะมีกรอบใช้รหัส frame หรือ framed ภาวะดังกล่าวจะแสดงไฟล์ที่ขนาดเต็มโดยมีคำบรรยายภาพ เนื่องจากไม่มีการปรับขนาดไฟล์ลง จึงไม่เหมาะสมสำหรับภาพขนาดใหญ่ แต่เป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับวิดีทัศน์ที่ขนาดไม่ใหญ่เกินไป

ภาวะไม่มีกรอบ

[แก้]

ไฟล์ในภาวะไม่มีกรอบใช้รหัส frameless ภาวะดังกล่าวจะแสดงภาพขนาดย่อโดยไม่มีคำบรรยาย ขนาดโดยปริยายคือความกว้าง 220 พิกเซลยกเว้นขนาดไฟล์เล็กกว่านั้น ภาวะนี้ต่างจากภาวะภาพขนาดย่อ โดยจะแสดงผลภาพในบรรทัดยกเว้นระบุการปรับแนวนอน

คุณสมบัติภาพ

[แก้]

คำบรรยายภาพ

[แก้]

ข้อความที่ป้อนที่ส่วนท้ายของมาร์กอัปจะใช้เป็นคำอธิบายภาพ มันไม่จำเป็นต้องมีรหัส ลิงก์และตัวเลือกการจัดรูปแบบข้อความปกติสามารถใช้ในคำบรรยายภาพได้เช่นกัน

[[ไฟล์:Example.png|thumb|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง|ตัวอย่างคำบรรยายภาพ]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

ใช้การไม่ได้ ใช้การได้ ใช้การได้ ใช้การไม่ได้

วิดีทัศน์

ใช้การไม่ได้ ใช้การได้ ใช้การได้ ใช้การไม่ได้

เนื้อหาผสม

ใช้การไม่ได้ ใช้การได้ ใช้การได้ ใช้การไม่ได้

การปรับแนวนอน

[แก้]

จัดตำแหน่งไฟล์ทางด้านขวา

[[ไฟล์:Example.png|right|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]


จัดตำแหน่งไฟล์ทางซ้าย

[[ไฟล์:Example.png|left|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]


วางตำแหน่งไฟล์ไว้ตรงกลาง จะไม่มีข้อความวนรอบไฟล์

[[ไฟล์:Example.png|center|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]


จัดตำแหน่งไฟล์ทางซ้าย จะไม่มีข้อความวนรอบไฟล์

[[ไฟล์:Example.png|none|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Works Works Works Works

วิดีทัศน์

Works Works Works Works

เนื้อหาผสม

Works Works Works Works

ขนาด

[แก้]

ไฟล์จะคงอัตราส่วนลักษณะเดิม

ในสถานการณ์ปกติ เซิร์ฟเวอร์วิกิพีเดียจะปรับขนาดภาพลงอัตโนมัติ แต่ยกเว้นภาพ GIF เคลื่อนไหว แต่จะมีการดาวน์โหลด GIF ต้นฉบับ และการปรับขนาดภาพให้พอดีกับช่องว่างที่ได้รับจัดสรรหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับสมรรถนะของเบราว์เซอร์ วิดีทัศน์ก็ไม่มีการปรับขนาดลงเช่นกัน ซึ่งทำให้สิ้นเปลืองความกว้างแถบความถี่ ให้ใช้ภาวะมีกรอบหรืออัปโหลดไฟล์ความละเอียดต่ำลง

การปรับขนาดไฟล์สูง

[แก้]

ลดความกว้างสำหรับไฟล์สูงผอม ซึ่งปกติดีกว่าการเจาะจงความกว้างเพราะคำนึงถึงค่าที่ผู้ใช้ตั้งไว้ด้วย

[[ไฟล์:Example.png|thumb|upright|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง|คำบรรยายภาพตัวอย่าง]]


ปรับขนาดของภาพขนาดย่อเป็นจำนวนเท่าของขนาดภาพขนาดย่อเริ่มต้น โดยปัดทศนิยมเป็นพหุคูณของ 10 ที่ใกล้เคียงที่สุด ตัวอย่างเช่น "upright=1.5" ทำให้ภาพมีขนาดใหญ่ขึ้น ซึ่งมีประโยชน์สำหรับแผนที่หรือแผนภาพเค้าร่างที่จำเป็นต้องมีขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อให้อ่านได้ เพื่อเป็นการเทียบ "upright=1" มีความกว้างเท่ากับภาพขนาดย่อมาตรฐานและ "upright=0.75" นั้นเหมือนกับการใช้ "upright" เพียงอย่างเดียว

[[ไฟล์:Example.png|thumb|upright=จำนวนเท่า|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง|คำบรรยายภาพตัวอย่าง]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Doesn't work Works Doesn't work Works

วิดีทัศน์

Doesn't work Works Doesn't work Works

เนื้อหาผสม

Doesn't work Works Doesn't work Works

การระบุขนาด

[แก้]

ปรับขนาดไฟล์เพื่อให้ความกว้างมีจำนวนพิกเซลตามที่ระบุ (เช่น 100px)

[[ไฟล์:Example.png|ความกว้างpx|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]


ปรับขนาดไฟล์เพื่อให้เป็นจำนวนพิกเซลที่ระบุ (เช่น x150px)

[[ไฟล์:Example.png|xความสูงpx|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]


ปรับขนาดไฟล์ให้กว้างและสูงไม่เกินจำนวนพิกเซลที่กำหนด (เช่น 100x150px)

[[ไฟล์:Example.png|ความกว้างxความสูงpx|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Works Works Doesn't work Works

วิดีทัศน์

Works Works Doesn't work Works

เนื้อหาผสม

Works Works Doesn't work Works

การเพิ่มข้อความทางเลือก

[แก้]

ระบุข้อความทางเลือกสำหรับภาพ ข้อความดังกล่าวมีไว้สำหรับผู้อ่านพิการทางสายตา

[[ไฟล์:Example.png|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Works Works Works Works

วิดีทัศน์

Works Works Works Works

เนื้อหาผสม

Works Works Works Works

ลิงก์

[แก้]

ปกติไฟล์จะมีไฮเปอร์ลิงก์ไปยังหน้าคำบรรยายของไฟล์นั้น ซึ่งมีสารสนเทศเกี่ยวกับตัวไฟล์ ตัวเลือกต่อไปนี้ทำให้ลิงก์นั้นชี้ไปยังหน้าอื่นหรือปิดใช้งานไปเลย สำหรับภาพลิงก์คือภาพนั้นเอง ส่วนวิดีทัศน์มีไอคอนสารสนเทศอยู่ล่างวิดีทัศน์

เว้นแต่ไฟล์นั้นจะเป็นสาธารณสมบัติ จะต้องใส่การแสดงที่มาด้วยวิธีอื่น

แก้ไขลิงก์ไฟล์

[แก้]
ข้อความทางเลือกตัวอย่าง

รูปภาพทำหน้าที่เป็นลิงค์ข้อความหลายมิติไปยังหน้าที่ระบุ อย่าใส่วงเล็บเหลี่ยมคร่อมชื่อหน้า หาก หน้า เป็นยูอาร์แอล รูปภาพจะทำหน้าที่เป็นแหล่งข้อมูลอื่น มิฉะนั้นจะลิงก์ไปยังหน้าวิกิพีเดียชื่อดังกล่าว

[[ไฟล์:Example.png|link=ชื่อหน้า|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Works Doesn't work Doesn't work Works

วิดีทัศน์

Doesn't work Doesn't work Doesn't work Doesn't work

เนื้อหาผสม

Works Doesn't work Doesn't work Works

ปิดใช้งานลิงก์ไฟล์

[แก้]
ข้อความทางเลือกตัวอย่าง

ไม่มีการสร้างการเชื่อมโยงหลายมิติ การคลิกที่ไฟล์รูปภาพหรือไฟล์เนื้อหาแบบผสมจะไม่มีการดำเนินการใด ๆ ลิงก์ไปที่ "เกี่ยวกับไฟล์นี้" จะถูกลบออกเมื่อเล่นวิดีทัศน์

[[ไฟล์:Example.png|link=|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Works Doesn't work Doesn't work Works

วิดีทัศน์

Works Doesn't work Doesn't work Works

เนื้อหาผสม

Works Doesn't work Doesn't work Works

การใส่ขอบ

[แก้]
ธงขาวมีวงกลมสีแดงทึบ
ธงขาวมีวงกลมสีแดงทึบ
ธงขาวมีวงกลมสีแดงทึบ
ธงขาวมีวงกลมสีแดงทึบ

เพิ่มเส้นขอบหนึ่งพิกเซลรอบไฟล์ มีประโยชน์เมื่อการแยกไฟล์จากพื้นหลังมีความสำคัญ พิจารณาใช้ thumb หรือ frame แทน

[[ไฟล์:Flag of Japan.svg|border|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Works Doesn't work Doesn't work Works

วิดีทัศน์

Doesn't work Doesn't work Doesn't work Doesn't work

เนื้อหาผสม

Works Doesn't work Doesn't work Works

การแสดงผลในบรรทัด

[แก้]

ภาพที่ไม่ระบุการปรับแนวนอนจะแสดงผลแบบในบรรทัด

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Works Doesn't work Doesn't work Works

วิดีทัศน์

Doesn't work Doesn't work Doesn't work Doesn't work

เนื้อหาผสม

Works Doesn't work Doesn't work Works

การปรับแนวตั้ง

[แก้]

ภาพต้องวางในบรรทัด ในตัวอย่างนี้ใช้ ไฟล์:Flag of Hungary vertical.svg เป็นตัวอย่าง

ปรับแนวด้านล่างของภาพกับเส้นฐานของข้อความ

[[File:Flag of Hungary vertical.svg|baseline|20px|link=|alt=]]


(เป็นค่าโดยปริยาย) ปรับแนวกึ่งกลางแนวตั้งของภาพกับเส้นฐานของข้อความบวกกับกึ่งหนึ่งของความสูง x ของข้อความ เพื่อให้ภาพมีกึ่งกลางในแนวตั้งอยู่รอบ "x" ตัวเล็กในข้อความ

[[File:Flag of Hungary vertical.svg|middle|20px|link=|alt=]]


ปรับแนวด้านล่างของภาพให้อยู่ระดับเดียวกับด้านล่างของตัวห้อย เช่น ด้านล่างของเลข "2" ใน "X2"

[[File:Flag of Hungary vertical.svg|sub|20px|link=|alt=]]


ปรับแนวด้านล่างของภาพให้อยู่ระดับเดียวกับด้านล่างของตัวยก เช่น ด้านล่างของเลข "2" in "X2"

[[File:Flag of Hungary vertical.svg|super|20px|link=|alt=]]


ปรับแนวบนสุดของภาพให้ตงกับบนสุดของข้อความ ซึ่งมักสูงกว่าบนสุดของอักษรใหญ่เล็กน้อย เพราะส่วนยื่นขึ้น (ascender) ในอักษรอย่าง "h" ตัวเล็ก

[[File:Flag of Hungary vertical.svg|text-top|20px|link=|alt=]]


ปรับแนวล่างสุดของภาพกับด้านล่างของข้อความ ซึ่งอยู่ต่ำกว่าเส้นบรรทัดเล็กน้อยเพราะส่วนยื่นล่าง (descender) ในอักษรอย่าง "y" ตัวเล็ก

[[File:Flag of Hungary vertical.svg|text-bottom|20px|link=|alt=]]


ปรับแนวบนสุดของภาพกับบนสุดของบรรทัดที่มีข้อความ ซึ่งปกติอยู่สูงกว่าบนสุดของข้อความเล็กน้อย เพื่อให้มีที่ระหว่างบรรทัดข้อความ

[[File:Flag of Hungary vertical.svg|top|20px|link=|alt=]]


ปรับแนวล่างสุดของภาพกับล่างสุดของบรรทัดที่มีข้อความ ซึ่งปกติอยู่ต่ำกว่าล่างสุดของข้อความเล็กน้อย

[[File:Flag of Hungary vertical.svg|bottom|20px|link=|alt=]]

การเปลี่ยนภาพที่แสดงผล

[แก้]

ภาพนิ่งแรกสุด

[แก้]
ระบุ Thumbtime 27 วินาทีเพื่อแสดงชื่อเรื่อง

ใช้เฟรมจากวิดีทัศน์ ณ เวลาหนึ่ง ๆ เป็นภาพนิ่งตั้งต้น หากไม่มีตัวแปรเสริม thumbtime จะใช้เฟรมจากกึ่งกลางของวิดีทัศน์ เวลา อยู่ในรูปชั่วโมง นาทีและวินาทีคั่นด้วยเครื่องหมายทวิภาค (:) ตัวอย่างเช่น

  • thumbtime=21 – วากยสัมพันธ์เวลาที่ใช้เฉพาะวินาที
  • thumbtime=0:23 – วากยสัมพันธ์เวลาที่ใช้นาทีและวินาที
  • thumbtime=0:0:33 – วากยสัมพันธ์เวลาที่ใช้ชั่วโมง นาทีและวินาที

[[ไฟล์:Big Buck Bunny small.ogv|thumbtime=เวลา|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Doesn't work Doesn't work Doesn't work Doesn't work

วิดีทัศน์

Works Works Works Works

เนื้อหาผสม

Doesn't work Doesn't work Doesn't work Doesn't work

เลือกหน้า

[แก้]
นี่เป็นหน้า 13

สามารถดึงภาพจากไฟล์ DjVu หรือ Pdf ด้วยตัวแปรเสริม page (ซึ่งไม่จำเป็นต้องใส่)

[[ไฟล์:Abroad - 1882.djvu|page=เลขหน้า|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Doesn't work Doesn't work Doesn't work Doesn't work

วิดีทัศน์

Doesn't work Doesn't work Doesn't work Doesn't work

เนื้อหาผสม

Works Works Works Works

การใส่ภาพขนาดย่ออื่น

[แก้]
ข้อความทางเลือกตัวอย่าง
คำบรรยายภาพตัวอย่าง

คุณสามารถลิงก์ไปภาพหนึ่งจากไอคอนสี่เหลี่ยมผืนผ้าคู่ขนาดเล็กของภาพขยาดย่อ แต่ให้แสดงผลอีกภาพหนึ่งโดยใช้ "|thumb=หน้าภาพที่แสดงที่นี่" ซึ่งตั้งใจให้ใช้ในกรณีพบได้น้อยซึ่งซอฟต์แวร์วิกิพีเดียที่ลดภาพเป็นภาพขนาดย่อทำงานที่เลว และคุณต้องการใส่ภาพขนาดย่อของคุณเอง ในตัวอย่าง สี่เหลี่ยมผืนผ้าคู่ลิงก์ไป ไฟล์:Anime stub 2.svg แต่ภาพที่แสดงคือ ไฟล์:Anime stub.png

[[ไฟล์:Anime stub 2.svg|thumb=Anime stub.png|alt=ข้อความทางเลือกตัวอย่าง|คำบรรยายภาพตัวอย่าง]]

พื้นฐาน ภาพขนาดย่อ มีกรอบ ไม่มีกรอบ

ภาพ

Doesn't work Works Doesn't work Doesn't work

วิดีทัศน์

Doesn't work Doesn't work Doesn't work Doesn't work

เนื้อหาผสม

Doesn't work Works Doesn't work Doesn't work

การใช้แบบพิเศษ

[แก้]

พาโนรามา

[แก้]

ภาพขนาดใหญ่มากไม่ควรใส่เข้าบทความโดยตรง เพราะก่อให้เกิดปัญหาในสิ่งแวดล้อมเบราว์เซอร์บางอย่าง ภาพที่กว้างกว่า 550px มักควรถือเป็นพาโนรามา ซึ่งสามารถสร้างได้ด้วยแม่แบบ ((Wide image)) ตัวอย่างเช่น

((wide image|Helsinki z00.jpg|1800px|alt=พาโนรามานครที่มีสิ่งปลูกสร้างระหวา่งห้าชั้นและสิบชั้น|กรุง[[เฮลซิงกิ]] ประเทศฟินแลนด์ มีสิ่งปลูกสร้างมากมาย))
พาโนรามานครที่มีสิ่งปลูกสร้างระหวา่งห้าชั้นและสิบชั้น
กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ มีสิ่งปลูกสร้างมากมาย

การจัดเรียงร่วมกัน

[แก้]

การมีสองภาพที่ตามตรรกะควรจัดกลุ่มร่วมกันเป็นเรื่องปกติ แม่แบบ ((multiple image)) เป็นทางแก้ปัญหาอย่างหนึ่ง ตัวอย่างเช่น

คาร์ทูชสีเหลือง
เตือน
คาร์ทูชสีแดง
ไล่ออก
ใบสีสองใบที่กรรมการฟุตบอลใช้
((multiple image
 | width = 80
 | footer = ใบสีสองใบที่กรรมการฟุตบอลใช้
 | image1 = Yellow card.svg
 | alt1 = คาร์ทูชสีเหลือง
 | caption1 = เตือน
 | image2 = Red card.svg
 | alt2 = คาร์ทูชสีแดง
 | caption2 = ไล่ออก
))

แม่แบบเดียวกันนี้ยังสามารถใช้จัดเรียงภาพในแนวตั้ง ดังนี้

คาร์ทูชสีเหลือง
เตือน
คาร์ทูชสีแดง
ไล่ออก
ใบสีสองใบที่กรรมการฟุตบอลใช้
 ((multiple image
 | direction = vertical
 | width = 80
 | footer = ใบสีสองใบที่กรรมการฟุตบอลใช้
 | image1 = Yellow card.svg
 | alt1 = คาร์ทูชสีเหลือง
 | caption1 = เตือน
 | image2 = Red card.svg
 | alt2 = คาร์ทูชสีแดง
 | caption2 = ไล่ออก
))

แผนที่ภาพ

[แก้]
โปสเตอร์หาเสียงของพรรคเดโมแครตปี 1896 โดยมีภาพผู้สมัครรับเลือกตั้ง วิลเลียม เจ. ไบรอันจากรัฐเนแบรสกาเป็นประธานาธิบดี และอาเทอร์ เซวอลจากรัฐเมนเป็นรองประธานาธิบดีวิลเลียม เจ. ไบรอันอาเทอร์ เซวอล

คุณสามารถเชื่อมโยงส่วนต่าง ๆ ของภาพไปยังที่ต่าง ๆ โดยใช้แผนที่ภาพ ตัวอย่างเช่น ในภาพทางขวามือ เมื่อคลิกวงกลมซึ่งมีขนาดประมาณรูปบุคคลซ้ายมือ จะนำผู้อ่านไปยังบทความ "วิลเลียม เจ. ไบรอัน" และรูปบุคคลขวามือจะนำไปยังบทความ "อาเทอร์ เซวอล" และเมื่อคลิกที่อื่นจะไปยัง http://projects.vassar.edu/1896/democrats.html ภาพนี้ก่อกำเนิดโดยมาร์กอัพต่อไปนี้

<imagemap>
ไฟล์:Bryan-Sewall.jpg|300px|right|alt=โปสเตอร์หาเสียงของพรรคเดโมแครตปี 1896 โดยมีภาพผู้สมัครรับเลือกตั้ง วิลเลียม เจ. ไบรอันจากรัฐเนแบรสกาเป็นประธานาธิบดี และอาเทอร์ เซวอลจากรัฐเมนเป็นรองประธานาธิบดี
circle 950 850 700 [[:en:William_Jennings_Bryan|วิลเลียม_เจ._ไบรอัน]]
circle 2950 850 700 [[:en:Arthur_Sewall|อาเทอร์_เซวอล]]
default [http://projects.vassar.edu/1896/democrats.html นักการเมืองพรรคเดโมแครตปี 1896]
</imagemap>

มาร์กอัพ imagemap เจาะจงข้อความชื่อเรื่อง (ทูลทิป) ไว้สำหรับสามบริเวณ ได้แก่ "วิลเลียม เจ. ไบรอัน", "อาเทอร์ เซวอล" และ "นักการเมืองพรรคเดโมแครตปี 1896" ตามลำดับ ข้อความทางเลือกสำหรับบริเวณ imagemap จะตรงกับข้อความชื่อเรื่องเสมอ ข้อความทางเลือกสำหรับภาพโดยรวมจะมีระบุในบรรทัดแรกของมาร์กอัพ imagemap มิติดั้งเดิมของภาพพื้นหลังเป็น 3916×1980 พิกเซล และพิกัดที่ระบุไว้ในมิติเหล่านี้ไม่ใช่ในภาพปรับขนาด 300px สามารถระบุบริเวณเป็นรูปวงกลม สี่เหลี่ยมผืนผ้าและรูปหลายเหลี่ยมตามใจชอบได้ดังอธิบายในเอกสารประกอบแผนที่ภาพ และสามารถย้ายหรือระงับไอคอน "i" สีน้ำเงิน ได้ นอกจากนี้ ภาพยังสามารถระบุเป็น thumb หรือ frame ได้ หมายความว่าภาพจะมีข้อความและคำบรรยายทั้งหมดตามปกติ โดยมีไอคอนสี่เหลี่ยมผืนผ้าคู่ แทนไอคอน "i" สีน้ำเงิน

แกลอรี

[แก้]

สามารถสร้างแกลอรีไฟล์หลายไฟล์ได้ ไม่มีวิธีมาตรฐานในการสร้างแกลอรี มีตัวเลือกได้แก่

  • ป้ายระบุแกลอรี – ไม่รองรับตัวแปรเสริม thumbtime สำหรับวิดีทัศน์
  • แม่แบบ:Gallery – ไม่รองรับตัวแปรเสริม thumbtime สำหรับวิดีทัศน์
  • ใช้มาร์กอัพไฟล์ข้างต้นกับมาร์กอัพตาราง

การลิงก์ไปไฟล์โดยไม่แสดงไฟล์

[แก้]

ในการลิงก์ไปหน้าคำบรรยายโดยไม่แสดงผลไฟล์ ให้ใส่เครื่องหมายทวิภาคก่อนคำขึ้นต้น

[[:ไฟล์:Example.png]]
ไฟล์:Example.png

คุณยังสามารถลิงก์ไปยังไฟล์โดยตรงโดยใช้ "สื่อ:" แทน "ไฟล์:"

[[สื่อ:Example.png]]
สื่อ:Example.png

ทั้งสองกรณีใช้ไพป์ทริกได้

{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
วิธีใช้:มาร์กอัปไฟล์ภาพ
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?