For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ลัทธิเริงรมณ์.

ลัทธิเริงรมณ์

เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ
Pornocrates โดยศิลปินเบลเยียมเฟลิเชียง โรพส์ ภาพพิมพ์กัดกรด และ ภาพพิมพ์อย่างสีน้ำ[1]

ลัทธิเริงรมณ์ (อังกฤษ: Decadent movement) คือขบวนการศิลปะ และ ขบวนการวรรณกรรมของปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ของยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะในฝรั่งเศส

บทนำ

[แก้]

“Decadence” หรือ “ความเริงรมณ์” เป็นชื่อที่เดิมตั้งขึ้นในทางแดกดันโดยนักวิพากษ์ต่อนักเขียนหลายคนในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้เทิดทูนความมีเล่ห์กลเหนือทัศนคติอันปราศจากมายาเกี่ยวกับธรรมชาติของกลุ่ม จินตนิยม ผู้อยู่ในกลุ่มนำคำดังกล่าวมาใช้ด้วยความยินดีและเรียกตนเองว่า “Decadents” โดยทั่วไปแล้วงานของผู้ดำเนินตามแนวลัทธิเริงรมณ์จะมีอิทธิพลมาจากนวนิยายกอธิค และ จากกวีนิพนธ์และนวนิยายที่เขียนโดยเอดการ์ อัลเลน โพและมีความสัมพันธ์กับลัทธิสัญลักษณ์นิยม และ/หรือ ลัทธิสุนทรียนิยม[2][3][4]

ปรัชญาของความเริงรมณ์และความฟุ้งเฟ้อมีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยเฉพาะจากชาร์ลส์ เดอ เซคองดัต บารอนแห่งมงต์เตส์คิว และถือกันว่าเป็นคำเสียดสีหลังจากนักวิพากษ์Désiré Nisardใช้ในการวิจารณ์วิกตอร์ อูโก และ ศิลปะจินตนิยมโดยทั่วไป ศิลปินจินตนิยมรุ่นต่อมาเช่นทีโอฟีล โกติเยร์ และ ชาร์ลส์ โบเดอแลร์ใช้คำนี้ด้วยความภูมิใจว่าเป็นการหันหลังให้กับสิ่งที่เรียกกันว่าเป็นความก้าวหน้าอันไม่น่าสนใจ ในคริสต์ทศวรรษ 1880 กลุ่มนักเขียนชาวฝรั่งเศสเรียกตนเองว่า “Decadents” นวนิยายคลาสสิกจากโยริส-คาร์ล อุยส์มองส์นักเขียนของกลุ่มนี้ ชื่อ “À rebours” ถือกันว่าเป็นนวนิยายดีเด่นของลัทธิเริงรมณ์เรื่องแรก แต่ผู้อื่นกล่าวว่างานของชาร์ลส์ โบเดอแลร์เป็นจุดเริ่มต้น[5] ลัทธิเริงรมณ์ในปัจจุบันถือกันว่าเป็นลัทธิที่คาบระหว่างศิลปะจินตนิยม กับ สมัยใหม่นิยม[6]

ในบริเตนบุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับลัทธิเริงรมณ์คือออสคาร์ ไวล์ด

ศิลปิน

[แก้]
  • Konstantin Balmont
  • Franz von Bayros
  • Aubrey Beardsley
  • Max Beerbohm
  • Mateiu Caragiale
  • Jan Frans De Boever
  • Remy de Gourmont
  • Ernest Dowson
  • Gabriele d'Annunzio
  • Guido Gozzano
  • Joris-Karl Huysmans
  • Vojislav Ilić
  • Comte de Lautréamont
  • Jane de La Vaudère
  • Arthur Machen
  • Octave Mirbeau
  • Robert de Montesquiou
  • George Moore
  • Gustave Moreau
  • Edvard Munch
  • Gérard de Nerval
  • Rachilde
  • Odilon Redon
  • Charles Ricketts
  • Arthur Rimbaud
  • Frederick Rolfe
  • Félicien Rops
  • Georges Rodenbach
  • M. P. Shiel
  • Eric Stenbock
  • Franz Stuck
  • Arthur Symons
  • Emile Verhaeren
  • Paul Verlaine
  • Auguste Villiers de l'Isle-Adam
  • Oscar Wilde

อ้างอิง

[แก้]
  1. ""ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน"". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-15. สืบค้นเมื่อ 2010-02-04.
  2. [1], Paul Verlaine and the decadence, 1882-90 By Philip Stephan, retrieved December 24, 2009
  3. A Chronology เก็บถาวร 2018-06-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, retrieved December 24, 2009
  4. [2]Decadence and the making of modernism By David Weir,retrieved December 24, 2009
  5. [3] Baudelaire and the Decadent Movement by Paul Bourget, retrieved December 24, 2009
  6. [4]Decadence and the making of modernism By David Weir,retrieved December 24, 2009
  • Mario Praz, The Romantic Agony, 1930 ISBN 0-19-281061-8
  • Philippe Jullian, Esthétes et Magiciens 1969; Dreamers of Decadence, 1971.

ดูเพิ่ม

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ลัทธิเริงรมณ์
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?