For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for หลอดลมโป่งพอง.

หลอดลมโป่งพอง

หลอดลมโป่งพอง
(Bronchiectasis)
ภาพ A แสดงให้เห็นภาพตัดขวางของปอดที่มีทางหายปกติและปอดที่มีทางหายใจโป่งพอง
ภาพ B แสดงให้เห็นภาพตัดขวางของทางหายใจปกติ
ภาพ C แสดงให้เห็นภาพตัดขวางของทางหายใจที่เป็นหลอดลมโป่งพอง
การออกเสียง
สาขาวิชาวิทยาปอด
อาการไอมีเสมหะ, หายใจลำบาก, เจ็บหน้าอก[2][3]
การตั้งต้นค่อยเป็นค่อยไป[4]
ระยะดำเนินโรคระยะยาว[5]
สาเหตุการติดเชื้อ, ซิสติกไฟโบรซิส, โรคพันธุกรรม, ไม่ทราบสาเหตุ[3][6]
วิธีวินิจฉัยวินิจฉัยจากอาการ, ซีทีสแกน[7]
โรคอื่นที่คล้ายกันโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, โรคปอดจากแร่ใยหิน, ท่อลมและหลอดลมอ่อน
การรักษายาปฏิชีวนะ, ยาขยายหลอดลม, การปลูกถ่ายปอด[3][8][9]
ความชุก1–250 ต่อ 250,000 ประชากร (ผู้ใหญ่)[10]

หลอดลมโป่งพอง (อังกฤษ: bronchiectasis) คือภาวะที่บางส่วนของทางหายใจในปอดขยายขนาดขึ้นอย่างถาวร[5] ผู้ป่วยมักมีอาการไอเรื้อรังแบบมีเสมหะ[3] อาการอื่นๆ เช่น หายใจลำบาก ไอเป็นเลือด และเจ็บหน้าอก[2] อาจมีอาการหายใจมีเสียงหวีดหรือนิ้วปุ้มร่วมด้วยก็ได้ ผู้ป่วยโรคนี้อาจมีการติดเชื้อในปอดซ้ำได้บ่อยๆ[8]

หลอดลมโป่งพองอาจเป็นผลจากโรคติดเชื้อหรือโรคที่ไม่ได้เป็นมาตั้งแต่กำเนิดได้หลายอย่าง เช่น ปอดอักเสบ วัณโรค ภูมิคุ้มกันผิดปกติ และอาจเป็นจากโรคทางพันธุกรรมตั้งแต่กำเนิด เช่น ซิสติกไฟโบรซิส[11][3][12] ซึ่งผู้ป่วยซิสติกไฟโบรซิสแทบทุกคนในที่สุดแล้วจะมีภาวะหลอดลมโป่งพองรุนแรงตามมาได้[13] หากไม่นับรายที่เกิดจากซิสติกไฟโบรซิสแล้วผู้ป่วยหลอดลมโป่งพองร้อยละ 10-50 เกิดขึ้นโดยที่ไม่พบสาเหตุ[3] กลไกของโรคนี้คือเกิดการอักเสบมากเกินไปจนทางหายใจถูกทำลาย[3] หลอดลมที่ได้รับผลกระทบจะขยายใหญ่และสูญเสียความสามารถในการระบายสารคัดหลั่ง[3] สารคัดหลั่งเหล่านี้จะทำให้มีเชื้อแบคทีเรียในเนื้อปอดมากขึ้น ทำให้เกิดการอุดตันทางหายใจ และทำลายทางหายใจให้แย่ลงไปอีก[3] โรคนี้ถือเป็นโรคปอดอุดกั้นชนิดหนึ่ง โรคอื่นๆ ในกลุ่มนี้ เช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) และโรคหืด[14] การวินิจฉัยเริ่มจากการสงสัยจากอาการ และยืนยันการวินิจฉัยด้วยการทำซีทีสแกน[7] การเพาะเชื้อจากเสมหะอาจมีประโยชน์สำหรับผู้ป่วยรายที่มีอาการแย่ลงโดยเฉียบพลัน และควรทำอย่างน้อยปีละครั้ง[7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Bronchiectasis | Definition of Bronchiectasis by Lexico". Lexico Dictionaries | English. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-09. สืบค้นเมื่อ 2022-07-23.
  2. 2.0 2.1 "What Are the Signs and Symptoms of Bronchiectasis?". NHLBI. June 2, 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2016. สืบค้นเมื่อ 10 August 2016.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 McShane, PJ; Naureckas, ET; Tino, G; Strek, ME (Sep 15, 2013). "Non-cystic fibrosis bronchiectasis". American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine. 188 (6): 647–56. doi:10.1164/rccm.201303-0411CI. PMID 23898922.
  4. Maguire, G (November 2012). "Bronchiectasis – a guide for primary care". Australian Family Physician. 41 (11): 842–50. PMID 23145413.
  5. 5.0 5.1 "What Is Bronchiectasis?". NHLBI. June 2, 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2016. สืบค้นเมื่อ 10 August 2016.
  6. Bird, K; Memon, J (January 2019). "Bronchiectasis". StatPearls [Internet]. PMID 28613561. NBK430810.
  7. 7.0 7.1 7.2 "Quality Standards for Clinically Significant Bronchiectasis in Adults". British Thoracic Society. July 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 July 2017. สืบค้นเมื่อ 29 April 2017.
  8. 8.0 8.1 "How Is Bronchiectasis Treated?". NHLBI. June 2, 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2016. สืบค้นเมื่อ 10 August 2016.
  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Cor2013
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Cot2015
  11. José, R. J.; Brown, J. S. (2014). "Bronchiectasis". British Journal of Hospital Medicine. 75 (Suppl 10:C146–51): C146–C151. doi:10.12968/hmed.2014.75.Sup10.C146. PMID 25289486.
  12. Nicki R. Colledge; Brian R. Walker; Stuart H. Ralston, บ.ก. (2010). Davidson's principles and practice of medicine. illustrated by Robert Britton (21st ed.). Edinburgh: Churchill Livingstone/Elsevier. ISBN 978-0-7020-3085-7.
  13. Brant, William E.; Helms, Clyde A., บ.ก. (2006). Fundamentals of diagnostic radiology (3rd ed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. p. 518. ISBN 9780781761352. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-06.
  14. Michael Filbin; Lisa M. Lee; Shaffer, Brian L. (2003). Blueprints pathophysiology II : pulmonary, gastrointestinal, and rheumatology : notes & cases (1st ed.). Malden, Mass.: Blackwell Pub. p. 12. ISBN 9781405103510. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-06.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
หลอดลมโป่งพอง
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?