For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for หน่วยไต.

หน่วยไต

บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง
หน่วยไต
(Nephron)
ภาพหน่วยไต(ภาพนี้ไม่มีจักซ์ตาโกลเมอรูลาร์ แอพพาราตัส)
รายละเอียด
คัพภกรรมMetanephric blastema (intermediate mesoderm)
ตัวระบุ
ภาษาละตินnephroneum
MeSHD009399
FMA17640
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

หน่วยไต (อังกฤษ: nephron) เป็นโครงสร้างพื้นฐานและหน่วยทำงานพื้นฐานของไต มีหน้าที่หลักคือควบคุมสมดุลของสารน้ำและสารต่างๆ ในร่างกาย เช่นโซเดียม ผ่านการกรองเลือดที่ผ่านหน่วยไต ดูดกลับสารที่ต้องการ และขับสารที่ไม่ต้องการทิ้งผ่านทางปัสสาวะ หน้าที่ของหน่วยไตนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำงานของร่างกาย ซึ่งจะถูกควบคุมโดยระบบต่อมไร้ท่อผ่านทางฮอร์โมนต่างๆ เช่น ฮอร์โมนต้านการขับปัสสาวะ อัลโดสเตอโรน และพาราไทรอยด์ เป็นต้น[1]

ไตปกติข้างหนึ่งของมนุษย์จะมีหน่วยไตอยู่ประมาณ 800,000 ถึง 1.5 ล้านหน่วยไต[2]

กายวิภาค

[แก้]

โครงสร้างของ เนพฟรอน

เป็นกลุ่มเส้นเลือดฝอยที่นำสารมากรองออก มีลักษณะเป็นร่างแหสานกัน

โบว์แมนแคปซูล

[แก้]

เป็นส่วนของท่อของหลอดไตที่พองเป็นกระเปาะ คล้ายด้าย มีโกลเมอรูลัสอยู่ข้างใน

ท่อของหน่วยไต

[แก้]

อยู่ต่อจากโบว์แมนแคปซูล มี 3 ส่วนใหญ่ๆ

ท่อขดส่วนต้น

[แก้]

เกิดการดูดสารเข้ากระแสเลือดมากที่สุด มีไมโทคอนเดรียเป็นจำนวนมาก เพื่อใช้เป็นพลังงานในการดูดสาร

ห่วงเฮนเล

[แก้]

เป็นท่อขนาดเล็กโค้ง เป็นรูปตัวU ใช้ในการดูดสารกลับเช่นกัน มีไมโทรคอนเดรียน้อยกว่าท่อส่วนต้น

ท่อขดส่วนท้าย

[แก้]

มีลักษณะเป็นท่อปิดของกรวยไต มีกรองแล้วส่งไปกระเพาะปัสสาวะ

การทำงาน

[แก้]

การทำงานเกือบทั้งหมดของไตเกิดขึ้นในหน่วยไต หน้าที่เหล่านี้ส่วนใหญ่เกี่ยวข้อกับการดูดซึมกลับ (reabsorption) และการหลั่ง (secretion) ของสารละลายต่างๆ ทั้งไอออน (เช่น โซเดียม), คาร์โบไฮเดรต (เช่น น้ำตาลกลูโคส) และกรดอะมิโน (เช่น กลูตาเมต) คุณสมบัติของเซลล์ที่บุท่อหน่วยไตในตำแหน่งต่างๆ จะมีความแตกต่างกันมาก ดังนั้นตำแหน่งต่างๆ ของหน่วยไตจึงมีหน้าที่เฉพาะ

อ้างอิง

[แก้]
  1. Maton, Anthea (1993). Human Biology and Health. Englewood Cliffs, New Jersey, USA: Prentice Hall. ISBN 0-13-981176-1. ((cite book)): ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  2. Guyton, Arthur C.; Hall, John E. (2006). Textbook of Medical Physiology. Philadelphia: Elsevier Saunders. p. 310. ISBN 0-7216-0240-1.((cite book)): CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
หน่วยไต
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?