For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for สี่รัฐมาลัย.

สี่รัฐมาลัย

สี่รัฐมาลัย
กลุ่มรัฐ
พ.ศ. 2486 – 2488

สี่รัฐมาลัยในพื้นที่สีแดง
ยุคทางประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่ 2
• ญี่ปุ่นส่งมอบดินแดนให้
18 ตุลาคม พ.ศ. 2486
• คืนดินแดนให้สหราชอาณาจักร
2 กันยายน พ.ศ. 2488
ก่อนหน้า
ถัดไป
การครอบครองมาลายาของญี่ปุ่น
การปกครองมาลายาของทหารบริเตน
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย

สี่รัฐมาลัย หรือสะกดว่า 4 รัถมาลัย[1] คืออดีตเขตการปกครองหนึ่งที่เคยเป็นของประเทศไทย อันประกอบด้วยรัฐกลันตัน, ตรังกานู, ไทรบุรี และปะลิส ซึ่งปัจจุบันทั้งหมดตั้งอยู่ทางตอนเหนือในอธิปไตยของประเทศมาเลเซีย

เมื่อเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาเกิดขึ้น ไทยได้รับดินแดนส่วนนี้คืนจากประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2486 ได้ลงนามยอมรับว่าดินแดนส่วนนี้เป็นของไทย (ส่งมอบวันที่ 20 สิงหาคม) รัฐมาลัยที่อังกฤษเคยแย่งชิงไปจากไทยจึงตกมาอยู่ในครอบครองของไทยอีกครั้ง รัฐบาลไทยได้ส่งข้าหลวงใหญ่ทหารไปประจำทุกรัฐในสี่รัฐมาลัย[2] โดยขึ้นตรงต่อผู้บังคับบัญชาการทหารสูงสุด[1]

หลังสิ้นสุดสงครามไทยต้องส่งมอบดินแดนส่วนนี้คืนอังกฤษ โดยข้าหลวงใหญ่ประจำสี่รัฐมาลัยได้ทำพิธีมอบสี่รัฐมาลัยคืนให้กับฝ่ายทหารอังกฤษ เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2488[3][4]

1 มกราคม พ.ศ. 2489 มีตกลงทำสัญญาที่เรียกว่าความตกลงสมบูรณ์แบบเพื่อเลิกสถานะสงครามระหว่างไทยกับสัมพันธมิตร ประกอบด้วยสัญญา 24 ข้อ เน้นเรื่องการถอนกำลังทหารออกจากสหรัฐไทยเดิมและสี่รัฐมาลัย การคืนดินแดนให้อังกฤษและไทยต้องส่งข้าวจำนวน 1.5 ล้านตันให้อังกฤษโดยไม่คิดมูลค่า การครอบครองสี่รัฐมาลัยของไทยเป็นอันสิ้นสุดลง

การบริหารสี่รัฐมาลัย

[แก้]

หน่วยงานฝ่ายบริหารของไทยในพื้นที่สี่รัฐมาลัยมีขนาดค่อนข้างเล็ก และเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารต้องรับผิดชอบทั้งด้านการทหาร การรักษาความสงบฝ่ายพลเรือน และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การดำเนินการของหน่วยงานฝ่ายไทยนั้นเป็นภาระของข้าราชการพลเรือน โดยอยู่ภายใต้การกำกับของทางฝ่ายทหารอีกชั้นหนึ่ง

รัฐไทรบุรี

[แก้]

ข้าหลวงญี่ปุ่น

[แก้]
  • 2484 – มีนาคม 2485 โอจามะ (Ojama)
  • มีนาคม 2485 – 18 ตุลาคม 2486 เซจิ ซูเกงาวะ (Seiji Sukegawa)

ข้าหลวงไทยฝ่ายทหาร

[แก้]
  • 18 ตุลาคม 2486 – 2488? ร้อยตำรวจเอก ปราโมทย์ จงเจริญ (อดีตกงสุลไทยประจำเมืองปีนัง)

ข้าหลวงใหญ่ฝ่ายทหารของไทย

[แก้]

รับผิดชอบดูแลรัฐไทรบุรี รัฐกลันตัน รัฐตรังกานู[5]

  • 20 สิงหาคม 2486 – ตุลาคม 2486 พันเอก พระสราภัยสฤษฏิการ (กระมล โชติกเสถียร)
  • 18 ตุลาคม 2486 – 2488? พันเอก พระสราภัยสฤษฏิการ (กระมล โชติกเสถียร) (รับมอบดินแดนจากญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการ)

รัฐกลันตัน

[แก้]

ข้าหลวงญี่ปุ่น

[แก้]
  • 2484 – 2486 ยาซูชิ ซูนากาวัง (Yasushi Sunakawan)
  • 2486 – 20 สิงหาคม 2486 คิกูระ ฟูจิซาวะ (Kikura Fujisawa)

ข้าหลวงไทยฝ่ายทหาร

[แก้]
  • 2486 – 2487 จรูญ ชัยชาญ
  • 2487 – 2488 ธาริน ระวังภู่

รัฐตรังกานู

[แก้]

ข้าหลวงญี่ปุ่น

[แก้]
  • ธันวาคม 2484 – 18 มีนาคม 2485 ไม่มีข้อมูล
  • 18 มีนาคม 2485 – กรกฎาคม 2486 คูจิ มานาบุ (Kuji Manabu)

ข้าหลวงไทยฝ่ายทหาร

[แก้]
  • 20 สิงหาคม 2486 – สิงหาคม 2488 ประยูร รัตนกิจ

รัฐปะลิส

[แก้]

ข้าหลวงญี่ปุ่น

[แก้]
  • 2484 – 2485 โอยามะ คิกันโจ (Ohyama Kikancho)
  • มีนาคม 2485 – 20 สิงหาคม 2486 เซจิ ซูเกงาวะ

ข้าหลวงไทยฝ่ายทหาร

[แก้]
  • 20 สิงหาคม 2486 – 8 กันยายน 2488 ชาญ ณ สงคราม

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "ประกาสกองบันชาการทหานสูงสุด เรื่องการจัดการปกครองดินแดน 4 รัถมาลัย" (PDF). ราชกิจจานุเบกสา. 60 (68ง): 3921. 21 ธันวาคม พ.ศ. 2486.
  2. กรมยุทธศึกษาทหาร. ประวัติศาสตร์การสงครามของไทยในสงครามมหาเอเชียบูรพา. กรุงเทพฯ:กองบัญชาการทหารสูงสุด กระทรวงกลาโหม, 2540, หน้า 216-218
  3. "เรื่องไทยในอดีต". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-10. สืบค้นเมื่อ 2010-08-15.
  4. กรมยุทธศึกษาทหาร. ประวัติศาสตร์การสงครามของไทยในสงครามมหาเอเชียบูรพา. กรุงเทพฯ:กองบัญชาการทหารสูงสุด กระทรวงกลาโหม, 2540, หน้า 337-338
  5. "Malaysian States". www.worldstatesmen.org.

ดูเพิ่ม

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
สี่รัฐมาลัย
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?