For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for รัฐบาลเป่ย์หยาง.

รัฐบาลเป่ย์หยาง

สาธารณรัฐจีน

中華民國  (จีน)
จงหฺวาหมิงกั๋ว
ถอดเป็นอักษรโรมัน: Chunghwa Minkuo
พินอิน: Zhōnghuá Mínguó
ค.ศ. 1912–1928
ตราแผ่นดินของรัฐบาลเป่ย์หยาง
ตราแผ่นดิน
เพลงชาติ
หลายเพลง
สาธารณรัฐจีนในระหว่าง ค.ศ. 1912–1928
สาธารณรัฐจีนในระหว่าง ค.ศ. 1912–1928
เมืองหลวงปักกิ่ง
39°54′N 116°23′E / 39.900°N 116.383°E / 39.900; 116.383
เมืองใหญ่สุดเซี่ยงไฮ้
ภาษาราชการจีนมาตรฐาน
การปกครองสหพันธรัฐแบบสาธารณรัฐระบบรัฐสภา
(ค.ศ. 1912–1914, ค.ศ. 1916–1923, ค.ศ. 1924, ค.ศ. 1926–1927)
สาธารณรัฐระบบประธานาธิบดี
(ค.ศ. 1914–1916, ค.ศ. 1923–1924, ค.ศ. 1924–1926, ค.ศ. 1927–1928)
รัฐภายใต้เผด็จการทหาร
(ค.ศ. 1927–1928)
ประธานาธิบดี 
• ค.ศ. 1912–1916
ยฺเหวียน ชื่อไข่ (คนแรก)
• ค.ศ. 1927–1928
จาง จั้วหลิน (คนสุดท้าย)[a]
นายกรัฐมนตรี 
• ค.ศ. 1912
ถัง เช่าอี๋ (คนแรก)
• ค.ศ. 1927–1928
พัน ฟู่ (คนสุดท้าย)
สภานิติบัญญัติสมัชชาแห่งชาติ
วุฒิสภา
สภาผู้แทนราษฎร
ประวัติศาสตร์ 
• การเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีของยฺเหวียน ชื่อไข่
10 มีนาคม ค.ศ. 1912
• เปิดการประชุมสภานิติบัญญัติ
8 เมษายน ค.ศ. 1913
4 พฤษภาคม ค.ศ. 1919
9 กรกฎาคม ค.ศ. 1926
• การล่มสลายของรัฐบาลทหาร
4 มิถุนายน ค.ศ. 1928
• การรวมประเทศจีน
29 ธันวาคม ค.ศ. 1928
สกุลเงินหยวนจีน
ก่อนหน้า
ถัดไป
ค.ศ. 1912:
ราชวงศ์ชิง
รัฐบาลชั่วคราว
ค.ศ. 1916:
จักรวรรดิจีน
ค.ศ. 1915:
จักรวรรดิจีน
ค.ศ. 1927:
เขตโซเวียต
ค.ศ. 1928:
รัฐบาลชาตินิยม

รัฐบาลเป่ย์หยาง[b] เป็นรัฐบาลสาธารณรัฐจีนที่ได้รับการรับรองในระดับสากลตั้งแต่ ค.ศ. 1912 ถึง ค.ศ. 1928 โดยตั้งอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ซึ่งอยู่ภายใต้การครอบงำของนายพลแห่งกองทัพเป่ย์หยาง

ชื่อ "เป่ย์หยาง" นั้นมาจากกองทัพเป่ย์หยาง (北洋軍) ของยฺเหวียน ชื่อไข่ (袁世凱) อดีตขุนศึกแห่งราชวงศ์ชิง (清朝) ที่ได้เป็นใหญ่ในทางการเมืองหลังราชวงศ์ล่มสลาย แม้รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีรัฐบาลพลเรือน แต่รัฐบาลพลเรือนก็ปกครองประเทศแต่ในนามเท่านั้น แม่ทัพนายกองจากทัพเป่ย์หยางเป็นผู้ควบคุมและดำเนินการปกครองที่แท้จริง กระนั้น ก็ได้รับการรับรองจากนานาชาติให้เป็นรัฐบาลโดยชอบธรรมของประเทศ มีอำนาจใช้จ่ายและเรียกเก็บภาษีอากร ทั้งขอกู้ยืมเงินจากต่างชาติได้ ครั้นยฺเหวียน ชื่อไข่ สิ้นชีพลงใน ค.ศ. 1916 ทัพเป่ย์หยางก็ระส่ำระสาย เพราะแตกแยกออกเป็นหมู่เป็นเหล่าและช่วงชิงอำนาจกันเอง ต่อมาใน ค.ศ. 1917 พรรคชาตินิยม (國民黨) ของซุน ยัตเซ็น หรือซุน อี้เซียน (孫逸仙) ก็ออกหน้าคัดค้านความชอบธรรมของรัฐบาลเป่ย์หยาง จนเกิดสู้กันในการกรีธาทัพขึ้นเหนือ (北伐) เมื่อช่วง ค.ศ. 1926–1928 ผลลัพธ์ คือ รัฐบาลเป่ย์หยางกับกลุ่มอื่น ๆ พ่ายแพ้ และพรรคชาตินิยม ภายใต้การนำของเจียง ไคเช็ก หรือเจี่ยง เจี้ยฉือ (蔣介石) ที่สืบทอดตำแหน่งจากซุน อี้เซียน สามารถหลอมรวมประเทศเข้าเป็นหนึ่งได้อีกครั้งใน ค.ศ. 1928 พรรคชาตินิยมเดินหน้าจัดตั้งรัฐบาลชาตินิยมของตนขึ้นที่หนานจิง (南京) ระเบียบทางการเมืองเช่นนี้ทำให้ประเทศกลายเป็นรัฐที่มีพรรคการเมืองเดียว (one-party state) แต่ภายหลังก็ได้รับการรับรองจากชาติต่าง ๆ ให้เป็นรัฐบาลโดยชอบธรรมของประเทศจีน

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ในตำแหน่งจอมพลสูงสุดแห่งรัฐบาลทหารสาธารณรัฐจีน
  2. จีน: 北洋政府; พินอิน: Běiyáng Zhèngfǔ; เวด-ไจลส์: Pei-yang Chêng-fu; อังกฤษ: Beiyang Government; บางครั้งถอดเป็นอักษรโรมันได้ว่า Peiyang Government
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
รัฐบาลเป่ย์หยาง
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?