For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for กองทัพอากาศสหราชอาณาจักร.

กองทัพอากาศสหราชอาณาจักร

กองทัพอากาศหลวง
Royal Air Force
ตราสัญลักษณ์กองทัพอากาศหลวง
ประจำการ1 เมษายน 1918; 106 ปีก่อน (1918-04-01)
ประเทศสหราชอาณาจักร
รูปแบบกองทัพอากาศ
บทบาทสงครามทางอากาศ
กำลังรบประจำการ 33,840 นาย[1]
เครื่องบินปฏิบัติการ 832 ลำ[2]
กองกำลังสนับสนุนทหารอากาศ 1,940 นาย
กองกำลังสำรอง 2,220 นาย[a]
ขึ้นกับกองทัพสหราชอาณาจักร
Air Staff Officesพระราชวังไวต์ฮอล, ลอนดอน
คำขวัญละติน: Per Ardua ad Astra
"ผ่านความทุกข์ยากสู่ดวงดาว"
เพลงหน่วยมาร์ชกองทัพอากาศหลวง
เว็บไซต์www.raf.mod.uk
ผู้บังคับบัญชา
จอมทัพสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3
เสธ.ทอ.พลอากาศเอก ไมเคิล วกสตัน
ผบ. สำคัญLord Trenchard
Lord Portal
เครื่องหมายสังกัด
Ensign
Logo
Roundels
Roundel Low visibility roundel
Fin flashes
Fin flash Low visibility fin flash
Aircraft flown
Attack
  • Eurofighter Typhoon
  • General Atomics MQ-9A Reaper
  • General Atomics MQ-9B Protector RG.1
  • Lockheed Martin F-35B Lightning
Fighter
Trainer helicopter
  • Airbus Helicopters Jupiter HT.1
  • Airbus Helicopters Juno HT.1
เฮลิคอปเตอร์อเนกประสงค์
  • Aérospatiale SA 330 Puma HC.2
  • Leonardo AW109SP GrandNew
  • Bell Griffin HAR.2
  • Boeing Chinook HC.4/5/6/6A
Reconnaissance
  • Beechcraft Shadow R.1
  • Boeing E-3D Sentry AEW.1
  • Boeing RC-135W Rivet Joint
  • General Atomics MQ-9A Reaper
  • Raytheon Sentinel R.1
Trainer
  • BAE Hawk T.1/T.2
  • Beechcraft Super King Air
  • Grob Viking T.1
  • Typhoon T.3
  • Grob Prefect T.1
  • Grob Tutor T.1
  • Short Tucano T.1
Transport
  • Airbus Voyager KC.2/KC.3
  • Airbus A400M Atlas C.1
  • Boeing C-17 Globemaster III
  • BAe 146 CC.2/C.3
  • Lockheed Martin C-130J Hercules C.4/C.5

กองทัพอากาศหลวง (อังกฤษ: Royal Air Force; RAF) เป็นกองทัพอากาศของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งขึ้นในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1918[3] นับเป็นกองทัพอากาศเอกเทศที่เก่าแก่ที่สุดในโลก[4] ภายหลังจากที่ได้มีชัยเหนือฝ่ายมหาอำนาจกลางในปี 1918 ทัพฟ้าจึงอุบัติขึ้น ในช่วงสมัยนั้น กองทัพอากาศขนาดใหญ่ที่สุดในโลก[5] นับตั้งแต่การก่อตั้ง ทัพฟ้ามีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์การทหารบริติซ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง[6]

ปัจจุบัน กองทัพอากาศสหราชอาณาจักรได้มีกองบินปฏิบัติการของเครื่องบินรุ่นต่างๆ[7] ได้ถูกอธิบายโดยทหารอากาศว่าเป็น"ชายหน้าปีกเครื่องบิน"ในแง่เทคโนโลยี[8] สิ่งนี้ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเครื่องบินปีกตรึง รวมทั้งเครื่องบินขับไล่และเครื่องบินโจมตี เครื่องบินเครื่องบินเตือนภัยล่วงหน้าทางอากาศ เครื่องบินหน่วยข่าวกรอง, การเฝ้าระวัง, การเข้ายึดครองเป้าหมาย และการลาดตะเวน(ISTAR), ข่าวกรองทางสัญญาณ(SIGINT)เครื่องบินเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ และเครื่องบินขนส่งทางยุทธศาสตร์และกลยุทธวิธี

ส่วนมากของเครื่องบินปีกหมุนของกองทัพอากาศสหราชอาณาจักรจากส่วนหนึ่งของ tri-service กองบัญชาการกองบินปีกหมุนร่วม(Joint Helicopter Command)ในการสนับสนุนกองกำลังทางภาคพื้นดิน ส่วนใหญ่ของเครื่องบินแห่งทัพฟ้าและบุคลากรอยู่ในฐานทัพสหราชอาณาจักร กับคนอื่นๆที่ทำหน้าที่ในปฏิบัติการ(โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอิรักและซีเรีย) หรือฐานทัพโพ้นทะเลที่มีมายาวนาน(เกาะอัสเซนชัน, ไซปรัส, ยิบรอลตาร์ และหมู่เกาะฟอล์กแลนด์) ถึงแม้ว่าทัพฟ้าจะเป็นกองทัพอากาศหลักของอังกฤษ แต่กองบินนาวี (Fleet Air Arm) แห่งราชนาวีและกองบินทหารบก (Army Air Corps)แห่งกองทัพบกบริติซยังส่งมอบอำนาจน่านฟ้าซึ่งรวมเข้ากับสภาพแวดล้อมทางทะเล ชายฝั่ง และพื้นดิน

ผู้บังคับบัญชา

[แก้]

ผู้บังคับบัญชาสูงสุดของกองทัพอากาศคือตำแหน่งจอมทัพ (Head of the Armed Forces) ซึ่งปัจจุบันคือสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 ส่วนตำแหน่งนายทหารสูงสุดของกองทัพอากาศตามลำดับ ได้แก่ :

  • เสนาธิการทหารอากาศ (Chief of the Air Staff)
  • รองเสนาธิการทหารอากาศ (Deputy Chief of the Air Staff)
  • ผู้บัญชาการยุทธการอากาศและอวกาศ (Air and Space Commander)

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Defence Statistics" (PDF). UK Parliament. 26 กันยายน 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 ธันวาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2018.
  2. "2018 United Kingdom Military Strength". Global Firepower. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 เมษายน 2018. สืบค้นเมื่อ 12 เมษายน 2018.
  3. "RAF Timeline 1918–1929". Royal Air Force. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 สิงหาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2012.
  4. "World War I". Royal Air Force. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 สิงหาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2012.
  5. Air Power and Colonial Control: The Royal Air Force, 1919–1939 เก็บถาวร 1 มกราคม 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน By David E. Omissi, Published 1 January 1990, Retrieved 1 February 2014. Page 8.
  6. BBC: Fact File: The RAF เก็บถาวร 21 เมษายน 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, retrieved 1 February 2014
  7. Nick Harvey, Minister of State for the Armed Forces (31 January 2012). "Military Aircraft". Parliamentary Debates (Hansard). House of Commons. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 September 2017. สืบค้นเมื่อ 14 April 2019.
  8. Royal Air Force: Our high-tech gear เก็บถาวร 3 กุมภาพันธ์ 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, retrieved 1 February 2014
  1. Since April 2013, MoD publications no longer report the entire strength of the [[Regular Reserve (United Kingdom) |Regular Reserve]], instead, only Regular Reserves serving under a fixed-term reserve contract are counted. These contracts are similar in nature to the RAuxAF.
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
กองทัพอากาศสหราชอาณาจักร
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?