For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for กองทัพอากาศมาเลเซีย.

กองทัพอากาศมาเลเซีย

กองทัพอากาศมาเลเซีย
Tentera Udara Diraja Malaysia
ตราประจำเหล่าทัพ
ประเทศ มาเลเซีย
รูปแบบกองทัพอากาศ
คำขวัญSentiasa di angkasa raya
สีหน่วย  
วันสถาปนา2 มิถุนายน พ.ศ. 2501
ปฏิบัติการสำคัญวิกฤตการณ์มลายู
การเผชิญหน้า อินโดนีเซีย-มาเลเซีย
สงครามจลาจลคอมมิวนิสต์
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการ
ทหารอากาศ
พล.อ.อ. อนุทิน ชาญวีระกูล
เครื่องหมายสังกัด
ธงประจำ
กองทัพ
เครื่องหมายอากาศยาน
เครื่องหมายปีกหาง

กองทัพอากาศมาเลเซีย (มลายู: Tentera Udara Diraja Malaysia) มีประวัติความเป็นมาคล้ายกับกองทัพอากาศของประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษประเทศอื่น ๆ คือในช่วงแรกจะเป็นกองทัพอากาศอังกฤษที่ดูแลน่านฟ้าให้ก่อน ซึ่งต่อมาอังกฤษถอนตัวออกไปในปี พ.ศ. 2514 และได้มีการลงนามสัญญาความมั่นคงร่วมกันระหว่างมาเลเซีย, สิงคโปร์, นิวซีแลนด์, ออสเตรเลีย และสหราชอาณาจักรในการร่วมกันป้องกันน่านฟ้า โดยในช่วงแรกกองทัพอากาศออสเตรเลียนำเครื่องบินมิเรจ (Mirage IIIO) มาประจำการที่ฐานทัพอากาศบัตเตอร์เวิร์ทตามสนธิสัญญา

ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา กองทัพอากาศมาเลเซียมีการพัฒนาแบบก้าวกระโดด โดยในช่วงแรกได้จัดซื้อเครื่องบิน F-5E จำนวน 1 ฝูง (16 ลำ) และ A-4C Skyhawks จำนวน 88 ลำซึ่งเป็นเครื่องบินส่วนเกินจากกองทัพอากาศสหรัฐ กองทัพอากาศมาเลเซียยังจัดหาอากาศยานจากต่างค่ายกัน โดยส่วนใหญ่มีอากาศยานจากสหรัฐอเมริกา, รัสเซีย และอังกฤษประจำการ

ปัจจุบันกองทัพอากาศมาเลเซียถือเป็นกองทัพอากาศอันดับต้น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีอากาศยานประจำการเกือบ 100 เครื่อง

เครื่องบินที่เข้าประจำการ

[แก้]

เครื่องบินขับไล่/โจมตี

[แก้]
  • ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซียSu-30MKM (จำนวน 18 เครื่อง)
    • ประจำการอยู่ที่ฝูงบินที่ 11 ฐานทัพอากาศกองเคคัก
    • ระบบอาวุธ

อากาศสู่อากาศ

      • จรวดนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยกลางแบบ Active Radar รุ่น R-77 (เทียบเท่า AIM-120C)
      • จรวดนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยกลางแบบ Semi-Active Radar รุ่น R-27R1 (เทียบเท่า AIM-7)
      • จรวดนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้แบบ R-73E (เทียบเท่า AIM-9X)

อากาศสู่พื้น

      • จรวดนำวิถีด้วยกล้องทีวี Kh-29T/TE (เทียบเท่า AGM-65D)
    • จรวดนำวิถีด้วยเลเซอร์ Kh-29L (เทียบเท่า AGM-65E)
      • จรวดนำวิถีต่อต้านเรือรบ Kh-31A (เทียบเท่า AGM-84 Harpoon)
      • จรวดนำวิถีต่อต้านการแพร่คลื่นเรด้าร์ Kh-31P (เทียบเท่า AGM-88 HARM)
      • จรวดนำวิถีด้วยกล้องทีวีพิสัยไกล Kh-59ME เทียบเท่า AGM-130)
      • ระเบิดนำวิถีด้วยกล้องทีวี KAB-500KR ขนาด 500 กก. (คล้าย GBU-15)
      • ระเบิดนำวิถีด้วยกล้องทีวี KAB-500KR ขนาด 1500 กก. (คล้าย GBU-15)
      • ระเบิดอนกประสงค์ OFAB ขนาด 100 กก. - 250 กก. (เทียบเท่า Mk.82 - 83)
      • ระเบิดอนกประสงค์ FAB ขนาด 500 กก. (เทียบเท่า Mk.84)
  • ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซียMiG-29N/NUB (จำนวน 14 เครื่อง)
    • ประจำการอยู่ที่ฝูงบินที่ 19 ฐานทัพอากาศกวนตัน
    • ระบบอาวุธ
      • ขีปนาวุธนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยกลางแบบ R-77
      • ขีปนาวุธนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้แบบ R-73
      • ระเบิด
  •  สหรัฐF/A-18D (จำนวน 8 ลำ)
    • ประจำการอยู่ที่ฝูงบินที่ 18 ฐานทัพอากาศบัตเตอร์เวิร์ท
    • ระบบอาวุธ
      • ขีปนาวุธนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยกลางแบบ AIM-7 Sparrow
      • ขีปนาวุธนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้แบบ AIM-9 Sidwinder
      • ระเบิดนำวิถี GBU-16
      • จรวดต่อต้านเรือรบ Harpoon
  •  สหราชอาณาจักรHawk 208 (จำนวน 16 ลำ)
    • ประจำการที่ฝูงบิน 15 ฐานทัพอากาศบัตเตอร์เวิร์ท
    • ระบบอาวุธ
      • ขีปนาวุธนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้แบบ AIM-9 Sidwinder
      • ระเบิด
  •  สหราชอาณาจักรHawk 108 (จำนวน 6 ลำ)
    • ประจำการที่ฝูงบิน 15 ฐานทัพอากาศบัตเตอร์เวิร์ท
    • ระบบอาวุธ
      • ขีปนาวุธนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้แบบ AIM-9 Sidwinder
      • ระเบิด
  •  สหรัฐF-5E/F และ RF-5E (จำนวน 10 ลำ)
    • ประจำการอยู่ที่ฝูงบินที่ 12 ฐานทัพอากาศบัตเตอร์เวิร์ท
    • ระบบอาวุธ
      • ขีปนาวุธนำวิถีอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้แบบ AIM-9 Sidwinder
      • ระเบิด

การจัดหาอากาศยานในอนาคต

[แก้]

ขณะนี้กองทัพอากาศมาเลเซียกำลังคัดเลือกเครื่องบินรบรุ่นใหม่เพื่อมาแทน MIG-29N โดยเครื่องบินที่กำลังคัดเลือกมี F/A-18F Dassault Rafale JAS-39 GRIPEN EurofighterTyphoon โดยคาดว่าจะประกาศผลได้ในปี พศ 2557

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
กองทัพอากาศมาเลเซีย
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?