For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ.

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดศรีสะเกษ
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต9
คะแนนเสียง349,569 (เพื่อไทย)
206,017 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (7)
ภูมิใจไทย (2)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดศรีสะเกษ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 9 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 9 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดศรีสะเกษมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนพิเคราะห์คดี (อินทร์ อินตะนัย)

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอศรีสะเกษ, อำเภออุทุมพรพิสัย และอำเภอคง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอห้วยเหนือ และอำเภอน้ำอ้อม
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภออุทุมพรพิสัย และอำเภอราษีไศล
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอขุขันธ์ และอำเภอกันทรลักษ์
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 5 คน (เขตละ 5 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอกันทรารมย์ และกิ่งอำเภอยางชุมน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภอราษีไศล, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอขุนหาญ และกิ่งอำเภอไพรบึง
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอกันทรารมย์ และกิ่งอำเภอยางชุมน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภอราษีไศล, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอขุนหาญ และอำเภอไพรบึง
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, กิ่งอำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอโนนคูณ และกิ่งอำเภอบึงบูรพ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่ และกิ่งอำเภอห้วยทับทัน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ และอำเภอไพรบึง
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอโนนคูณ และกิ่งอำเภอบึงบูรพ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่ และกิ่งอำเภอห้วยทับทัน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง และกิ่งอำเภอศรีรัตนะ
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอโนนคูณ และกิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอไพรบึง, อำเภอห้วยทับทัน และกิ่งอำเภอบึงบูรพ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ และกิ่งอำเภอศรีรัตนะ
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอโนนคูณ, กิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง และกิ่งอำเภอวังหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอไพรบึง, อำเภอห้วยทับทัน และกิ่งอำเภอบึงบูรพ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ และกิ่งอำเภอศรีรัตนะ
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง และกิ่งอำเภอวังหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, กิ่งอำเภอบึงบูรพ์ และกิ่งอำเภอภูสิงห์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ และอำเภอศรีรัตนะ
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง และกิ่งอำเภอวังหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, กิ่งอำเภอบึงบูรพ์, กิ่งอำเภอภูสิงห์ และกิ่งอำเภอเมืองจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ และอำเภอศรีรัตนะ
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอน้ำเกลี้ยง, อำเภอวังหิน และกิ่งอำเภอพยุห์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, อำเภอบึงบูรพ์, กิ่งอำเภอภูสิงห์, กิ่งอำเภอเมืองจันทร์ และกิ่งอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ, อำเภอศรีรัตนะ และกิ่งอำเภอเบญจลักษ์
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอน้ำเกลี้ยง, อำเภอวังหิน และกิ่งอำเภอพยุห์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, อำเภอบึงบูรพ์, อำเภอภูสิงห์, กิ่งอำเภอเมืองจันทร์ และกิ่งอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ, อำเภอศรีรัตนะ และกิ่งอำเภอเบญจลักษ์
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษและอำเภอยางชุมน้อย (ยกเว้นตำบลยางชุมน้อยและตำบลโนนคูณ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอน้ำเกลี้ยง และ อำเภอโนนคูณ (เฉพาะตำบลบกและตำบลโพธิ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอศรีรัตนะ, อำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลภูเงินและตำบลตระกาจ), อำเภอเบญจลักษ์, อำเภอไพรบึง (ยกเว้นตำบลดินแดงและตำบลสำโรงพลัน) และอำเภอโนนคูณ (ยกเว้นตำบลบกและตำบลโพธิ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลชำ ตำบลละลาย ตำบลภูเงิน และตำบลตระกาจ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขุนหาญ, อำเภอภูสิงห์ และอำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลชำและตำบลละลาย)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอขุขันธ์และอำเภอไพรบึง (เฉพาะตำบลดินแดงและตำบลสำโรงพลัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอปรางค์กู่, อำเภอวังหิน, อำเภอห้วยทับทัน (เฉพาะตำบลผักไหม) และอำเภอพยุห์
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอห้วยทับทัน (ยกเว้นตำบลผักไหม) และอำเภอเมืองจันทร์ (ยกเว้นตำบลตาโกน)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอราษีไศล, อำเภอบึงบูรพ์, อำเภอยางชุมน้อย (เฉพาะตำบลยางชุมน้อยและตำบลโนนคูณ), อำเภอเมืองจันทร์ (เฉพาะตำบลตาโกน), กิ่งอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ และกิ่งอำเภอศิลาลาด
9 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอบึงบูรพ์, อำเภอพยุห์, อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ และอำเภอศิลาลาด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, อำเภอภูสิงห์, อำเภอวังหิน และอำเภอเมืองจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ, อำเภอศรีรัตนะ และอำเภอเบญจลักษ์
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษและอำเภอวังหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอโนนคูณ และอำเภอน้ำเกลี้ยง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลภูเงิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลภูเงิน), อำเภอเบญจลักษ์, อำเภอศรีรัตนะ, อำเภอพยุห์ และอำเภอไพรบึง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขุขันธ์ (เฉพาะตำบลปรือใหญ่ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลศรีตระกูล และตำบลตาอุด), อำเภอขุนหาญ และอำเภอภูสิงห์
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอขุขันธ์ (ยกเว้นตำบลปรือใหญ่ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลศรีตระกูล และตำบลตาอุด) และอำเภอปรางค์กู่ (ยกเว้นตำบลสำโรงปราสาทและตำบลตูม)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอห้วยทับทัน, อำเภอปรางค์กู่ (เฉพาะตำบลสำโรงปราสาทและตำบลตูม) และอำเภอเมืองจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอราศีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอศิลาลาด, อำเภอบึงบูรพ์ และอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษและอำเภอวังหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอโนนคูณ และอำเภอน้ำเกลี้ยง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพยุห์, อำเภอไพรบึง, อำเภอศรีรัตนะ, อำเภอเบญจลักษ์ และอำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลภูเงิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลภูเงิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขุนหาญ, อำเภอภูสิงห์ และอำเภอขุขันธ์ (เฉพาะตำบลปรือใหญ่ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลศรีตระกูล และตำบลตาอุด)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอขุขันธ์ (ยกเว้นตำบลปรือใหญ่ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลศรีตระกูล และตำบลตาอุด) และอำเภอปรางค์กู่ (ยกเว้นตำบลตูมและตำบลสำโรงปราสาท)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอเมืองจันทร์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอห้วยทับทัน และอำเภอปรางค์กู่ (เฉพาะตำบลตูมและตำบลสำโรงปราสาท)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ, อำเภอบึงบูรพ์, อำเภอราษีไศล, อำเภอศิลาลาด และอำเภอยางชุมน้อย
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษและอำเภอวังหิน (เฉพาะตำบลทุ่งสว่าง ตำบลบ่อแก้ว ตำบลธาตุ และตำบลบุสูง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอน้ำเกลี้ยง และอำเภอโนนคูณ (เฉพาะตำบลบกและตำบลโพธิ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอศรีรัตนะ, อำเภอเบญจลักษ์, อำเภอโนนคูณ (ยกเว้นตำบลบกและตำบลโพธิ์) และอำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลจานใหญ่ ตำบลตระกาจ ตำบลภูเงิน และตำบลกระแชง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลจานใหญ่ ตำบลตระกาจ ตำบลภูเงิน และตำบลกระแชง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขุนหาญและอำเภอภูสิงห์
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอขุขันธ์และอำเภอไพรบึง (เฉพาะตำบลสำโรงพลัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอปรางค์กู่, อำเภอพยุห์, อำเภอไพรบึง (ยกเว้นตำบลสำโรงพลัน) และอำเภอวังหิน (เฉพาะตำบลดวนใหญ่ ตำบลวังหิน ตำบลโพนยาง และตำบลศรีสำราญ)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอห้วยทับทัน และอำเภอเมืองจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ, อำเภอบึงบูรพ์, อำเภอราษีไศล, อำเภอศิลาลาด และอำเภอยางชุมน้อย
9 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

[แก้]
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476
ขุนพิเคราะห์คดี (อินทร์ อินตะนัย)

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

[แก้]
      พรรคสหชีพ
      พรรคสหชีพพรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายเทพ โชตินุชิต หลวงราษฎร์วิรุณหกิจ (ช้อย สุคนธ์) นายบูรณะ จำปาพันธ์ นายประเทือง ธรรมสาลี
2 นายพุฒเทศ กาญจนเสริม นายผล ศิลารัตน์ ร้อยตำรวจเอก สวัสดิ์ ศรีอุทุมพร
  • การเลือกตั้งครั้งที่ 1–2 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในนามจังหวัดขุขันธ์

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

[แก้]
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายบุญเพ็ง พรหมคุณ
นายเทพ โชตินุชิต
พ.ศ. 2492 นายประเทือง ธรรมสาลี (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

[แก้]
ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายทิม ไชยงยศ
2 นายเทพ โชตินุชิต
3 นายมานิต อุทธิเสน

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคเศรษฐกร
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายบูรณะ จัมปาพันธ์ นายบูรณะ จัมปาพันธ์
นายเลื่อน ทองดี นายสง่า วัชราภรณ์
นายเทพ โชตินุชิต
นายตรีเพ็ชร ศรแก้ว นายพรชัย แสงชัชจ์

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

[แก้]
      พรรคแนวประชาธิปไตย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายนิสิต เวทย์ศิริยานันท์
2 นายสง่า วัชราภรณ์
3 นางสุมนา นิตยสุทธิ
4 นายไพบูลย์ มัฆวิมาลย์
5 นายสุจินต์ เชาว์วิศิษฐ

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519

[แก้]
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคแผ่นดินไทย (พ.ศ. 2517)
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคเศรษฐกร
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2517)
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายสง่า วัชราภรณ์ นายบุญชง วีสมหมาย
นายมานิต อุทธิเสน นายนิสิต เวทย์ศิริยานันท์
นายมานิตย์ พรหมมานนท์ นายมานิตย์ พรหมมานนท์
2 นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
นายสุจินต์ เชาว์วิศิษฐ นายชุมพล อรุณยะเดช
นายเริ่มรัฐ จิตรภักดี นายสุกิจ ศรีสาคร

ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526

[แก้]
      พรรคเสรีธรรม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 นายไพโรจน์ เครือรัตน์ นายไพโรจน์ เครือรัตน์
นางกรองกาญจน์ วีสมหมาย
นายสุเทพ อาจสารี นายธีระชัย วีสมหมาย
2 นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
นายสนิท ลีลา นายชินรัฐ จิตต์ภักดี
3 นายสง่า วัชราภรณ์ นายสง่า วัชราภรณ์
นายพันธ์ อินพานิช นายเสถียร ธรรมสุริยะ

ชุดที่ 15–16; พ.ศ. 2529–2531

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรครวมไทย (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคประชาชนพรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531
1 นายวิชิต แสงทอง นายมหาหิงค์ ไพรสิน
นายไพโรจน์ เครือรัตน์
นางกรองกาญจน์ วีสมหมาย
2 นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
นายเริ่มรัฐ จิตรภักดี นายประโภชฌ์ สภาวสุ
นายสวัสดิ์ สืบสายพรหม นายสวัสดิ์ สืบสายพรหม
3 นายสง่า วัชราภรณ์ นายวีระ ไชยะเดชะ
นายจำนงค์ โพธิสาโร

ชุดที่ 17–20; พ.ศ. 2535–2539

[แก้]
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคพลังธรรม
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายบุญชง วีสมหมาย
นายไพโรจน์ เครือรัตน์ นายมานะ มหาสุวีระชัย นายไพโรจน์ เครือรัตน์ นายมานะ มหาสุวีระชัย
นางกรองกาญจน์ วีสมหมาย ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง นายวิชิต แสงทอง ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
2 นายสวัสดิ์ สืบสายพรหม นายมานพ จรัสดำรงนิตย์
นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ (ถูกให้ออกจากพรรค) นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
นายมานพ จรัสดำรงนิตย์ (แทนนายปิยะณัฐ)
นายเทิดภูมิ ใจดี พันตำรวจเอก ทิน วงศ์ปลั่ง นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ
3 นายจำนงค์ โพธิสาโร นายจำนงค์ โพธิสาโร นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
นายสง่า วัชราภรณ์ นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคชาติพัฒนาพรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายบุญชง วีสมหมาย
( / เลือกตั้งใหม่ / เสียชีวิต)
นายธเนศ เครือรัตน์
นายธเนศ เครือรัตน์
(แทนนายบุญชง)
2 นายพิทยา บุญเฉลียว นายพิทยา บุญเฉลียว
3 นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ
(ถูกสั่งนับคะแนนใหม่)
นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ
นายจำนงค์ โพธิสาโร
(แทนนายวิวัฒน์ชัย)
4 นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
5 นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ นายอมรเทพ สมหมาย
นายอมรเทพ สมหมาย
(แทนนายดนัยฤทธิ์)
6 พันตำรวจเอก ทิน วงศ์ปลั่ง นายวีระพล จิตสัมฤทธิ์
7 นางสาวมาลินี อินฉัตร นางสาวมาลินี อินฉัตร
ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
(แทนนางสาวมาลินี)
8 นายมานพ จรัสดำรงนิตย์
9 นางผ่องศรี แซ่จึง
( / เลือกตั้งใหม่)
นายปวีณ แซ่จึง

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคพลังประชาชน
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย
      พรรคประชาราช
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายธเนศ เครือรัตน์
นายสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายสุตา พรมดวง
(แทนนายสิริพงศ์/ลาออก)
นายสุรชาติ ชาญประดิษฐ์
(แทนนายสุตา)
นายปวีณ แซ่จึง
2 นายวีระพล จิตสัมฤทธิ์
นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ
ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นางสาวจิรวดี จึงวรานนท์ (แทนร้อยโท กุเทพ)
3 นางอุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์
นายธีระ ไตรสรณกุล
นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

[แก้]
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายธเนศ เครือรัตน์ นายสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ
2 นายสุรชาติ ชาญประดิษฐ์
3 นางอุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ
4 นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
5 นายธีระ ไตรสรณกุล นายธีระ ไตรสรณกุล
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
6 นายวีระพล จิตสัมฤทธิ์
7 นายมานพ จรัสดำรงนิตย์ นายอาสพลธ์ สรรณ์ไตรภพ
8 นายปวีณ แซ่จึง นางผ่องศรี แซ่จึง

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

[แก้]
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายธเนศ เครือรัตน์
2 นายสุรชาติ ชาญประดิษฐ์
3 นายธนา กิจไพบูลย์ชัย
4 นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
5 นายอมรเทพ สมหมาย
6 นายวีระพล จิตสัมฤทธิ์
7 นางสาววิลดา อินฉัตร
8 นายอาสพลธ์ สรรณ์ไตรภพ
9 นางนุชนาถ จารุวงษ์เสถียร

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?