For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for สถานีโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช.

สถานีโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
N21

Bhumibol Adulyadej Hospital
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนพหลโยธิน เขตดอนเมืองและเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°54′39″N 100°37′03″E / 13.9108°N 100.6174°E / 13.9108; 100.6174
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ทางวิ่ง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีN21
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ16 ธันวาคม พ.ศ. 2563; 3 ปีก่อน (2563-12-16)
ผู้โดยสาร
2564321,744
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท สะพานใหม่
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่

สถานีโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช (อังกฤษ: Bhumibol Adulyadej Hospital station; รหัส: N21) เป็นสถานีรถไฟฟ้าแบบยกระดับในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธินในพื้นที่เขตดอนเมืองและเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2563[1][2][3]

ที่ตั้ง

[แก้]

ถนนพหลโยธิน บริเวณด้านหน้ากรมแพทย์ทหารอากาศ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช และฐานทัพอากาศดอนเมือง ในพื้นที่แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง และแขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร

แผนผังของสถานี

[แก้]
U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (สะพานใหม่)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
ทางเดินเชื่อมอาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลภูมิพลอดลุยเดช
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, ถนนพหลโยธิน, กรมแพทย์ทหารอากาศ, โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช, สนามกีฬากองทัพอากาศ จันทรุเบกษา

รายละเอียดของสถานี

[แก้]

รูปแบบของสถานี

[แก้]

เป็นแบบชานชาลาด้านข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้าง 22.15 เมตร (ระยะรวมหลังคา 27.8 เมตร) ระดับชานชาลาสูงจากพื้นดิน 18 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง โดยใช้กระจกเชื่อมปิดหลังคาทั้งหมด[4]

อนึ่งตัวสถานีมีแผงกั้นระดับสายตาทั้งสถานี ตลอดจนทางเดินใต้รางรถไฟฟ้าและบันไดระดับถนน และทางวิ่งฝั่งซ้าย (มุ่งหน้าสถานีปลายทางคูคต) มีแผงกั้นระดับสายตาตลอดทางเช่นกัน เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ของกองทัพอากาศไทย

สัญลักษณ์ของสถานี

[แก้]

ใช้สีเขียวเข้มตกแต่งรั้วและเสาบริเวณชานชาลา ป้ายทางเข้าและทางขึ้นสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีฝั่งพหลโยธินเหนือ

ทางเข้า-ออก

[แก้]

ประกอบด้วยทางขึ้น-ลงปกติ และทางเดินใต้รางรถไฟฟ้าได้แก่

  • 1 ฐานทัพอากาศดอนเมือง (ช่องทางกองทัพอากาศ 5)
  • 2 โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช (ทางเชื่อมเข้าอาคารผู้ป่วยนอก)
  • 3 ป้ายรถประจำทาง มุ่งหน้ากรมทหารอากาศโยธิน รักษาพระองค์, หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน (ช่องทางกองทัพอากาศ 4)
  • 4 สมาคมเวชศาสตร์การบินแห่งประเทศไทย, กรมแพทย์ทหารอากาศ
  • 5 ฐานทัพอากาศดอนเมือง (ช่องทางกองทัพอากาศ 5 เวชยันตรังสฤษฏ์), ซอยเวชยันตรังสฤษฏ์ (ทางเดินใต้รางรถไฟฟ้า)
  • 6 หอประชุมกองทัพอากาศ (ทางเดินใต้รางรถไฟฟ้า)

เวลาให้บริการ

[แก้]
ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[5]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.21 23.21
E15 สำโรง 23.36
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.06
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.35 00.41

การเชื่อมต่อรถโดยสารประจำทาง

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
34 1 (กปด.31) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต การขนส่งระบบราง สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก.
39 1 (กปด.21) ตลาดไท รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
114 1 (กปด.11) แยกลำลูกกา MRT พระนั่งเกล้า
114 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
185 1 (กปด.31) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต คลองเตย รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
503 สนามหลวง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
520 2 (กปด.22) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี ตลาดไท มีรถให้บริการน้อย
522 (1-22E) 1 (กปด.31) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านงามวงศ์วาน ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา)
ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านงามวงศ์วาน)
522 (1-22E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้ก๊าซธรรมชาติ)
543 1 (กปด.11) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน ลำลูกกา คลอง 7 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
543 Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้ก๊าซธรรมชาติ)
1-25 แยกลำลูกกา รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถเอกชน

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
34 (1-2E) Handicapped/disabled access รังสิต การขนส่งระบบราง สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านวัชรพล ลงด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ขากลับ ขึ้นด่านพระราม 9 ลงด่านวัชรพล)
39 (1-4) Handicapped/disabled access ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต บางเขน
39 (1-5) Handicapped/disabled access รังสิต รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.หลีกภัยขนส่ง)
1-31 Handicapped/disabled access ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ คลองหลวง คลอง 5 บจก.ไทยสมายล์บัส

รถหมวด 4

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1009 สะพานใหม่ ตลาดวงศกร 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า-ชมพู
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า-ชมพู
บจก.สยามเมล์

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "บีทีเอส เตรียมความพร้อมเปิด 7 สถานีใหม่ สายสีเขียวช่วง หมอชิต-สะพานใหม่-คูคต". Bangkok Biz News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-15.
  2. "ประยุทธ์ กดปุ่มเปิด "รถไฟฟ้าสีเขียว-สีทอง" คูคต-ไอคอนสยาม ยังนั่งฟรี". Prachachat. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-16.
  3. "BTS" เปิดส่วนต่อขยายสายสีเขียว ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต และรถไฟฟ้าสายสีทอง ดีเดย์วันที่ 16 ธันวาคม 63". Komchadluek. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-15.
  4. "รายงานการเปลี่ยนแปลงรายละเอียด โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครส่วนต่อขยายพหลโยธิน (หมอชิต–สะพานใหม่–ลำลูกกา) ของกรุงเทพมหานคร เฉพาะช่วงสะพานใหม่–ลำลูกกา (ปัจจุบัน รฟม. เป็นผู้ดำเนินการ) กรณียกเลิกการติดตั้งแผงบังสายตาบริเวณพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ". บทที่ 1 บทนำ. โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครส่วนต่อขยายพหลโยธิน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2020-10-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-05. สืบค้นเมื่อ 2020-10-13.
  5. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
สถานีโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?