For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for รายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทย.

รายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทย

ผู้บัญชาการทหารบก
เครื่องหมายราชการ
ธงประจำตำแหน่ง
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
พล.อ. เจริญชัย หินเธาว์
ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
สมาชิกของวุฒิสภาไทย
ผู้เสนอชื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
ผู้ประเดิมตำแหน่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ในฐานะ เจ้าพนักงานใหญ่ ผู้ช่วยบัญชาการทหารบก
สถาปนาเมษายน พ.ศ. 2430
รองรองผู้บัญชาการทหารบก

รายพระนามและชื่อ ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย

[แก้]

กองทัพบกไทย (Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุด และมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปีพุทธศักราช 2417 เหตุผลส่วนหนึ่งคือ เพื่อรับมือกับการคุกคามรุกแบบใหม่จากอังกฤษ ภายหลังการทำสนธิสัญญาเบาว์ริง โดยเจ้าพนักงานใหญ่พระองค์แรกคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (พระยศในขณะนั้น) ดำรงตำแหน่ง 3 ปี และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งเป็น กรมทหารบก, กรมยุทธนาธิการ, เสนาบดีกระทรวงกลาโหม และ ผู้บัญชาการทหารบก ตามลำดับ

รายนาม

[แก้]
เจ้าพนักงานใหญ่
ลำดับ พระรูป พระนาม วาระ หมายเหตุ
1 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมษายน พ.ศ. 2430 – เมษายน พ.ศ. 2433
กรมทหารบก
ลำดับ รูป ชื่อ วาระ หมายเหตุ
2 เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี(เจิม แสง-ชูโต) เมษายน พ.ศ. 2433 – มีนาคม พ.ศ. 2435
กรมยุทธนาธิการ
ลำดับ พระรูป พระนาม วาระ หมายเหตุ
3 สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช เมษายน พ.ศ. 2435 – มีนาคม พ.ศ. 2439
เมษายน พ.ศ. 2442 – 11 สิงหาคม พ.ศ. 2444
4 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีนาคม พ.ศ. 2439 – เมษายน พ.ศ. 2442
5 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช 11 สิงหาคม พ.ศ. 2444 – 11 ธันวาคม พ.ศ. 2453
เสนาบดีกระทรวงกลาโหม
ลำดับ รูป ชื่อ วาระ หมายเหตุ
5 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช 11 ธันวาคม พ.ศ. 2453 – กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456
6 เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (อรุณ) 1 เมษายน พ.ศ. 2457 [1] – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464
7 เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม) 1 เมษายน พ.ศ. 2465 [2] – 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469
8 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469[3] – 31 มีนาคม พ.ศ. 2471
9 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช 25 ตุลาคม พ.ศ. 2471[4] – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2474
- พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2474 [5] – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474 รั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม (ปัจจุบันใช้คำว่า รักษาราชการแทน)
10 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474[6] – 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475
ผู้บัญชาการทหารบก
ลำดับ รูป ชื่อ วาระดำรงตำแหน่ง หมายเหตุ
11 พระยาพหลพลพยุหเสนา(พจน์ พหลโยธิน) 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475[7] – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2476[8]
24 มิถุนายน พ.ศ. 2476[9] – 4 มกราคม พ.ศ. 2481[10]
24 สิงหาคม พ.ศ. 2487 [11] – 29 มีนาคม พ.ศ. 2489
12 จอมพล แปลก พิบูลสงคราม 4 มกราคม พ.ศ. 2481[12] – 5 สิงหาคม พ.ศ. 2487
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 – 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 – 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2491
13 หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต 6 สิงหาคม พ.ศ. 2487 – 24 สิงหาคม พ.ศ. 2487
14 อดุล อดุลเดชจรัส 26 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
15 จอมพล ผิน ชุณหะวัณ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 – 23 มิถุนายน พ.ศ. 2497
16 จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2497 – 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 ถึงแก่อสัญกรรม​
17 จอมพล ถนอม กิตติขจร 11 ธันวาคม พ.ศ. 2506 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507
18 จอมพล ประภาส จารุเสถียร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2516
19 พล.อ.กฤษณ์ สีวะรา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2516 – 30 กันยายน พ.ศ. 2518
20 พล.อ.บุญชัย บำรุงพงศ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2518 – 30 กันยายน พ.ศ. 2519
21 พล.อ.เสริม ณ นคร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 – 30 กันยายน พ.ศ. 2521
22 พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2521 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2524
23 พล.อ.ประยุทธ จารุมณี 26 สิงหาคม พ.ศ. 2524 – 30 กันยายน พ.ศ. 2525
24 พล.อ.อาทิตย์ กำลังเอก 1 ตุลาคม พ.ศ. 2525 – 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 ถูกปลดออกจากตำแหน่ง
25 พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 – 28 มีนาคม พ.ศ. 2533 ลาออกจากตำแหน่ง
26 พล.อ.สุจินดา คราประยูร 29 มีนาคม พ.ศ. 2533 – 6 เมษายน พ.ศ. 2535 ลาออกจากตำแหน่งเพื่อรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
27 พล.อ.อิสระพงศ์ หนุนภักดี 7 เมษายน พ.ศ. 2535 – 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ถูกย้ายไปเป็นรองปลัดกระทรวงกลาโหม
28 พล.อ.วิมล วงศ์วานิช 1 สิงหาคม พ.ศ. 2535 – 30 กันยายน พ.ศ. 2538
29 พล.อ.ประมณฑ์ ผลาสินธุ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2538 – 30 กันยายน พ.ศ. 2539
30 พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2539 – 30 กันยายน พ.ศ. 2541
31 พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2541 – 30 กันยายน พ.ศ. 2545
32 พล.อ.สมทัต อัตตะนันทน์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2545 – 30 กันยายน พ.ศ. 2546
33 พล.อ.ชัยสิทธิ์ ชินวัตร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 – 30 กันยายน พ.ศ. 2547
34 พล.อ. ประวิตร วงษ์สุวรรณ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2547 – 30 กันยายน พ.ศ. 2548
35 พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2548 – 30 กันยายน พ.ศ. 2550
36 พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 – 30 กันยายน พ.ศ. 2553
37 พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 – 30 กันยายน พ.ศ. 2557
38 พล.อ.อุดมเดช สีตบุตร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 30 กันยายน พ.ศ. 2558
39 พล.อ.ธีรชัย นาควานิช 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2559
40 พล.อ.เฉลิมชัย สิทธิสาท 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 30 กันยายน พ.ศ. 2561
41 พล.อ.อภิรัชต์ คงสมพงษ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 – 30 กันยายน พ.ศ. 2563
42 พล.อ.ณรงค์พันธ์ จิตต์แก้วแท้ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 - 30 กันยายน พ.ศ. 2566
43 พล.อ.เจริญชัย หินเธาว์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 - ปัจจุบัน รักษาการ 12-30 กันยายน 2566

อ้างอิง

[แก้]
  1. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-09. สืบค้นเมื่อ 2019-12-09.
  2. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
  3. "พระบรมราชโองการ ประกาศ เปลี่ยนเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและเสนาธิการทหารบก" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-10. สืบค้นเมื่อ 2019-12-10.
  4. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
  5. พระบรมราชโองการ ประกาศ เปลี่ยนเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
  6. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดี และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
  7. แจ้งความประธานคณะกรรมการราษฎร
  8. ประกาศ เรื่อง นายทหารขอลาออกจากประจำการ
  9. ประกาศ เรื่อง ตั้งนายทหารเข้าประจำการ เลื่อน ย้ายและปลดเป็นกองหนุน
  10. ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง ตั้งผู้บัญชาการทหารบก
  11. พระบรมราชโองการ ประกาศ เปลี่ยนตัวผู้บัญชาการทหารบกและแม่ทัพบก
  12. ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง ตั้งผู้บัญชาการทหารบก

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]


{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
รายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทย
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?