For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ภาษาไอริช.

ภาษาไอริช

ภาษาไอริช
Gaeilge
ออกเสียงˈɡeːlʲɟə
ประเทศที่มีการพูดประเทศไอร์แลนด์ และ สหราชอาณาจักร
ภูมิภาคGaeltachtaí
จำนวนผู้พูดประมาณ 133,000 คนที่อยู่ ภายในไอร์แลนด์ ซึ่งมีจำนวนน้อยกว่าผู้พูดอยู่นอกประเทศ  (2011)[1]
L2:
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
  • เคลต์
    • เคลต์หมู่เกาะ
      • กอยเดล
        • ภาษาไอริช
รูปแบบก่อนหน้า
ภาษาไอริชดั้งเดิม
  • ภาษาไอริชเก่า
    • ภาษาไอริชยุคกลาง
      • ภาษาไอริชคลาสสิก
        • ภาษาไอริช
รูปแบบมาตรฐานAn Caighdeán Oifigiúil
ระบบการเขียนอักษรละติน (อักษรไอริช)
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ ไอร์แลนด์
 สหภาพยุโรป
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
ผู้วางระเบียบForas na Gaeilge
รหัสภาษา
ISO 639-1ga
ISO 639-2gle
ISO 639-3gle
Linguasphere50-AAA

ภาษาไอริช[4] หรือ ภาษาไอร์แลนด์[5] บางครั้งเรียกว่าภาษาเกลิก (อังกฤษ: Gaelic, ไอริช: Gaeilge) เป็นภาษากอยเดลภาษาหนึ่งที่จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน มีรากฐานจากประเทศไอร์แลนด์ ซึ่งในอดีตมีการพูดโดยคนเชื้อสายไอริช แต่ปัจจุบันประชากรไอริชมักพูดภาษาอังกฤษ ทำให้มีจำนวนประชากรที่พูดภาษาไอริชเป็นภาษาแม่อยู่เป็นจำนวนน้อยเท่านั้น โดยการสำรวจในปี ค.ศ. 2016 พบว่ามีผู้ที่พูดภาษาไอริชเป็นภาษาแม่อยู่ในไอร์แลนด์เพียง 73,800 คน หรือ ไม่ถึงร้อยละ 2 ของจำนวนประชากร ในขณะที่คนไอริชส่วนใหญ่จะเรียนภาษาไอริชเป็นภาษาที่สอง อย่างไรก็ดีไอริชมีฐานะเป็นภาษาทางการในประเทศไอร์แลนด์ กำหนดโดยรัฐธรรมนูญของไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังเป็นภาษาที่ใช้อย่างเป็นทางการของสหภาพยุโรป และ ในไอร์แลนด์เหนือของสหราชอาณาจักรอีกด้วย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

ภาษาเขียนของไอริชถูกพบเป็นครั้งแรกในจารึกอักษรโอคัมซึ่งถูกจารึกไว้ราวศตวรรษที่ 4 โดยเป็นภาษาไอริชสมัยแรกเริ่ม (primitive Irish) ภาษาไอริชแรกเริ่มพัฒนากลายมาเป็นภาษาไอริชเก่า (Old Irish) ในระหว่างศตวรรษที่ 5 พอถึงศตวรรษที่ 6 ภาษาไอริชเก่าก็เริ่มใช้ตัวอักษรลาตินแล้ว และเริ่มปรากฏอยู่ในส่วนคำอรรถาธิบายบริเวณขอบหน้ากระดาษ (marginalia) ของต้นฉบับตัวเขียนภาษาลาติน ในระยะนี้เองคำจากภาษาละตินได้เข้ามาสู่ภาษาไอริช โดยผ่านเข้ามาทางภาษาเวลส์เก่า โดยเฉพาะคำศัพท์ที่เกี่ยวกับกิจการ และฐานานุกรมของสงฆ์


เชิงอรรถ

[แก้]
  1. Keith Brown, บ.ก. (2005). Encyclopedia of Language and Linguistics (2 ed.). Elsevier. ISBN 0-08-044299-4.
  2. http://www.nisra.gov.uk/Census/key_report_2011.pdf 2011 Census, Key Statistics for Northern Ireland, UK Govt, December 2012
  3. Vaughan, Jill. "The Irish language in Australia - Socio-cultural Identity in Diasporic Minority Language Use". School of Languages and Linguistics University of Melbourne. สืบค้นเมื่อ 2 August 2012.
  4. จากภาษาอังกฤษ Irish
  5. จากภาษาอังกฤษ Ireland

อ้างอิง

[แก้]
  • Caerwyn Williams, J.E. & Ní Mhuiríosa, Máirín (ed.). Traidisiún Liteartha na nGael. An Clóchomhar Tta 1979.
  • De Brún, Pádraig. Scriptural Instruction in the Vernacular: The Irish Society and Its Teachers 1818-1827. Dublin Institute for Advanced Studies 2009. ISBN 978-1-85500-212-8
  • Fitzgerald, Garrett, ‘Estimates for baronies of minimal level of Irish-speaking amongst successive decennial cohorts, 117-1781 to 1861-1871,’ Volume 84, Proceedings of the Royal Irish Academy 1984.
  • McMahon, Timothy G.. Grand Opportunity: The Gaelic Revival and Irish Society, 1893-1910. Syracuse University Press 2008. ISBN 978-0-8156-3158-3
  • Ó Gráda, Cormac. 'Cé Fada le Fán' in Dublin Review of Books, Issue 34, May 6, 2013:

http://www.drb.ie/essays/c%C3%A9-fada-le-f%C3%A1n เก็บถาวร 2017-10-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.

  • Kelly, James & Mac Murchaidh, Ciarán (eds.). Irish and English: Essays on the Linguistic and Cultural Frontier 1600-1900. Four Courts Press 2012. ISBN 978-1846823404
  • Ní Mhunghaile, Lesa. 'An eighteenth century Irish scribe's private library: Muiris Ó Gormáin's books' in Proceedings of the Royal Irish Academy, Volume 110C, 2010, pp. 239-276.
  • Ní Mhuiríosa, Máirín. ‘Cumann na Scríbhneoirí: Memoir’ in Scríobh 5, ed. Seán Ó Mórdha. Baile Átha Cliath: An Clóchomhar Tta 1981.
  • Ó hÓgáin, Dáithí. Labhrann Laighnigh: Téacsanna agus Cainteanna ó Shean-Chúige Laighean. Coiscéim 2011.
  • Ó Laoire, Muiris. '‘Language Use and Language Attitudes in Ireland’ in Multilingualism in European Bilingual Contexts : Language Use and Attitudes, ed. David Lasagabaster and Ángel Huguet. Multilingual Matters Ltd 2007. ISBN 1-85359-929-8
  • Williams, Nicholas. ‘Na Canúintí a Theacht chun Solais’ i Stair na Gaeilge, ed. Kim McCone and others. Maigh Nuad 1994. ISBN 0-901519-90-1

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

ไวยากรณ์และการออกเสียง

[แก้]

พจนานุกรม

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ภาษาไอริช
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?