For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for สภากาชาดไทย.

สภากาชาดไทย

สภากาชาดไทย
ก่อตั้ง26 เมษายน พ.ศ 2436 (131 ปี)
ประเภทองค์กรสาธารณกุศลไม่แสวงหาผลกำไร
ที่ตั้ง
สมาชิก
สหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ
ภาษาทางการ
ภาษาไทย
สภานายิกา
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
อุปนายิกา
ผู้อำนวยการ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เลขาธิการ
เตช บุนนาค
เว็บไซต์www.redcross.or.th

สภากาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) เดิมเรียก "สภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยาม" ริเริ่มก่อตั้งโดยท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงษ์ ภริยาของเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ซึ่งมีสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงทรงเป็นสภานายิกาพระองค์แรก สันนิบาตสภากาชาดมีมติรับสภากาชาดสยามเป็นสมาชิกในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2464

ประวัติ

[แก้]

สภากาชาดสยาม-สภากาชาดไทย

[แก้]

สภานายิกา

[แก้]

องค์บรมราชูปถัมภิกา

[แก้]

องค์อุปถัมภิกา

[แก้]

อุปนายก-อุปนายิกา

[แก้]

งานกาชาด

[แก้]

งานกาชาด เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อหารายได้บำรุงสภากาชาดไทย มีการจัดงานทั้งในกรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่าง ๆ

งานกาชาด จัดให้มีขึ้นเป็นครั้งแรกระหว่างวันที่ 31 มีนาคม 2465 – 8 เมษายน 2466 (สมัยนั้นวันขึ้นปีใหม่ยังเป็นวันที่ 1 เมษายน) ณ ท้องสนามหลวง แรกเริ่มเป็นการรับสมาชิกโดยเสียค่าบำรุงปีละ 1 บาท ต่อมาจึงเพิ่มกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การละเล่น การออกร้านขององค์กรต่าง ๆ การประกวดธิดากาชาด เป็นต้น และได้ย้ายมาจัดที่ สถานเสาวภา และบริเวณ ลานพระบรมรูปทรงม้า, สวนอัมพร และสนามเสือป่า ตามลำดับ โดยจัดในช่วงประมาณปลายเดือนมีนาคม ถึงต้นเดือนเมษายนของทุกปี เป็นเวลา 9 วัน

ภายในงานจะมีการออกร้านจำหน่ายสินค้าราคาถูก, บริการตรวจสุขภาพ, จำหน่ายสลากรางวัล "สลากกาชาด" เป็นต้น ซึ่งร้านในงานมาจากหน่วยงานต่าง ๆ เช่น หน่วยงานรัฐ, กองทัพ, สถานีโทรทัศน์, โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย ตลอดจนถึงบริษัทเอกชน

งานกาชาดประจำปี พ.ศ. 2561 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23 พฤศจิกายน ถึง 1 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณ สวนลุมพินี แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ภายใต้แนวคิด "125 ปี สภากาชาดไทย ร้อยดวงใจส่งต่อการให้ที่งดงาม"[17]

งานกาชาดประจำปี พ.ศ. 2563 มีการเปลี่ยนรูปแบบการจัดงานเป็นรูปแบบออนไลน์ครั้งแรก ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโควิด-19 ในประเทศไทย โดยจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 19 – 29 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ผ่านทางเว็บไซต์ของงานกาชาด ตลอด 24 ชั่วโมง [18]

ในปี พ.ศ. 2565 สภากาชาดไทยได้จัดงานกาชาดคู่ขนานทั้งที่สวนลุมพินีและผ่านเว็บไซต์ของงาน เพื่อเฉลิมพระเกียรติองค์สภานายิกา เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา[19]

หน่วยงานภายใน

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2436
  2. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2463
  3. "ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2499" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-09-30. สืบค้นเมื่อ 2007-07-29.
  4. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/051/1843.PDF
  5. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/051/1842_1.PDF
  6. "พระกรณียกิจ - พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-22. สืบค้นเมื่อ 2014-03-05.
  7. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2457
  8. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2463
  9. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2475
  10. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2482
  11. ประกาศจากราชกิจจานุเบกสา วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 (ตัวสะกดตามต้นฉบับ)
  12. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2491
  13. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503
  14. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2507
  15. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2512
  16. ประกาศจากราชกิจจานุเบกษา วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2520
  17. https://www.redcross.or.th/news/information/5847/
  18. https://www.redcross.or.th/news/information/12218/ ครั้งแรก…กับงานกาชาดออนไลน์เต็มรูปแบบบนแพลตฟอร์มออนไลน์
  19. "สภากาชาดไทย จัดงานกาชาดประจำปี 2565 ภายใต้แนวคิด "9 ทศวรรษใต้ร่มพระบารมี สดุดีสภานายิกาสภากาชาดไทย"". thainews.prd.go.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-25. สืบค้นเมื่อ 2022-11-25.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
สภากาชาดไทย
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?