For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ.

ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ

ความผันแปรของความดันเลือดในหัวใจห้องล่างซ้าย (เส้นสีฟ้า) และหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตา (เส้นสีแดง) ในช่วงจังหวะหัวใจบีบ และหัวใจคลาย

ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ (อังกฤษ: Essential Hypertension) หรือ ความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ (อังกฤษ: Primary Hypertension) เป็นความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถระบุสาเหตุได้ชัดเจน เป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด ราวร้อยละ 95 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด[1][2][3][4] มีแนวโน้มที่จะเป็นกรรมพันธุ์ และน่าจะเป็นผลจากความสัมพันธ์ซับซ้อนระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ความชุกของความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุเพิ่มขึ้นตามอายุ และผู้ป่วยที่มีความดันเลือดสูงเมื่ออายุน้อยจะมีความเสี่ยงมากขึ้นที่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูงเมื่ออายุมากขึ้น ความดันโลหิตสูงเพิ่มความเสี่ยงของโรคสมอง หัวใจ และไตตามมา[5]

การจำแนกความรุนแรง

[แก้]

การจำแนกความรุนแรงของความดันเลือดออกในปัจจุบันเป็นความดันเลือดปกติ ก่อนความดันโลหิตสูง (prehypertension) ความดันโลหิตสูงระยะที่ 1 และ 2 และความดันโลหิตเฉพาะช่วงหัวใจบีบสูง (isolated systolic hypertension) ที่มักพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ การอ่านค่าความดันใช้ค่าเฉลี่ยของการวัดความดันโลหิตในท่านั่งที่สบายและควรวัดอย่างน้อย 2 ครั้งที่มาตรวจในระยะเวลาที่ห่างกัน ในผู้ที่อายุมากกว่า 50 ปี จะวินิจฉัยภาวะความดันโลหิตสูงเมื่อมีความดันเลือดมากกว่า 140 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจบีบ และ 90 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ผู้ป่วยที่มีโรคเบาหวานชนิดที่ 1 หรือ 2 หรือโรคไตและมีความดันโลหิตมากกว่า 130/80 มิลลิเมตรปรอทควรได้รับการรักษา[6]

ความดันโลหิตสูง "ชนิดดื้อ" (resistant) หมายถึงการใช้ยาไม่สามารถลดความดันเลือดกลับมาอยู่ในระดับปกติได้หลังจากใช้ยา 3 ชนิด[6] แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูงชนิดดื้อได้รับการตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักร[10] และสหรัฐอเมริกา[11]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Carretero OA; Oparil S (January 2000). "Essential hypertension. Part I: definition and etiology". Circulation. 101 (3): 329–35. doi:10.1161/01.CIR.101.3.329. PMID 10645931. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-07. สืบค้นเมื่อ 2009-06-05.
  2. Oparil S; Zaman MA; Calhoun DA (November 2003). "Pathogenesis of hypertension". Ann. Intern. Med. 139 (9): 761–76. PMID 14597461.
  3. Hall, John E.; Guyton, Arthur C. (2006). Textbook of medical physiology. St. Louis, Mo: Elsevier Saunders. p. 228. ISBN 0-7216-0240-1.
  4. "Hypertension: eMedicine Nephrology". สืบค้นเมื่อ 2009-06-05.
  5. Messerli FH, Williams B, Ritz E (August 2007). "Essential hypertension". Lancet. 370 (9587): 591–603. doi:10.1016/S0140-6736(07)61299-9. PMID 17707755. S2CID 26414121.
  6. 6.0 6.1 6.2 Chobanian AV; Bakris GL; Black HR; และคณะ (December 2003). "Seventh report of the Joint National Committee on Prevention, Detection, Evaluation, and Treatment of High Blood Pressure". Hypertension. 42 (6): 1206–52. doi:10.1161/01.HYP.0000107251.49515.c2. PMID 14656957. ((cite journal)): ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |author-separator= ถูกละเว้น (help)
  7. Mancia G; De Backer G; Dominiczak A; และคณะ (September 2007). "2007 ESH-ESC Practice Guidelines for the Management of Arterial Hypertension: ESH-ESC Task Force on the Management of Arterial Hypertension". J. Hypertens. 25 (9): 1751–62. doi:10.1097/HJH.0b013e3282f0580f. PMID 17762635. ((cite journal)): ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |author-separator= ถูกละเว้น (help)
  8. Williams, B (2004 Mar). "Guidelines for management of hypertension: report of the fourth working party of the British Hypertension Society, 2004-BHS IV". Journal of Human Hypertension. 18 (3): 139–85. doi:10.1038/sj.jhh.1001683. PMID 14973512. ((cite journal)): ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  9. สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย (2012). แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2555 (PDF). การประชุมวิชาการประจำปี ครั้งที่ 10 "Trends in Hypertension 2012" 17 กุมภาพันธ์ 2555. กรุงเทพฯ, ประเทศไทย. ISBN 1-111-22222-9. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-07-28. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555. ((cite conference)): ตรวจสอบค่า |isbn=: checksum (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. "CG34 Hypertension - quick reference guide" (PDF). National Institute for Health and Clinical Excellence. 28 June 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-03-13. สืบค้นเมื่อ 2009-03-04.
  11. Calhoun DA; Jones D; Textor S; และคณะ (June 2008). "Resistant hypertension: diagnosis, evaluation, and treatment. A scientific statement from the American Heart Association Professional Education Committee of the Council for High Blood Pressure Research". Hypertension. 51 (6): 1403–19. doi:10.1161/HYPERTENSIONAHA.108.189141. PMID 18391085. ((cite journal)): ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |author-separator= ถูกละเว้น (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?