For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for น้ำคร่ำอุดหลอดเลือด.

น้ำคร่ำอุดหลอดเลือด

น้ำคร่ำอุดหลอดเลือด
(amniotic fluid embolism)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10O88.1
ICD-9673.1
DiseasesDB574
eMedicinemed/122
MeSHamniotic fluid&field=entry#Tree

ภาวะน้ำคร่ำอุดหลอดเลือด (อังกฤษ: amniotic fluid embolism) เป็นภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ที่พบน้อยและยังไม่เป็นที่เข้าใจแน่ชัด เกิดจากการที่มีน้ำคร่ำ หรือเส้นผม หรือเศษชิ้นเนื้อต่างๆ ของทารกหลุดเข้าสู่กระแสเลือดของมารดาผ่านทางรกในขณะคลอดและทำให้เกิดอาการแพ้ ภาวะนี้ทำให้เกิดความล้มเหลวในระบบหัวใจและปอด ทำให้เกิดภาวะเลือดแข็งตัว และเป็นอันตรายถึงชีวิตแก่มารดาได้

ในปี พ.ศ. 2484 Steiner และ Luschbaugh อธิบายภาวะน้ำคร่ำอุดหลอดเลือดเป็นครั้งแรก หลังจากพบเศษชิ้นเนื้อของทารกในเส้นเลือดปอดของมารดาที่เสียชีวิตขณะคลอด

ข้อมูลปัจจุบันจาก National Amniotic Fluid Embolus Registry ทำให้เชื่อว่ากลไกการเกิดโรคนี้คล้ายคลึงกับภาวะแพ้รุนแรงมากกว่าภาวะเส้นเลือดอุดตัน ทำให้มีการเสนอให้ใช้คำว่า กลุ่มอาการแพ้รุนแรงจากการตั้งครรภ์ (Anaphylactoid syndrome of pregnancy) ขึ้นใช้แทนคำเดิม[ใคร?] เนื่องจากในมารดาที่มีอาการและอาการแสดงเข้ากันได้กับภาวะน้ำคร่ำอุดหลอดเลือดนั้นไม่ได้พบเศษชิ้นเนื้อของทารกหรือน้ำคร่ำในเส้นเลือดปอดเสมอไป

การวินิจฉัยภาวะน้ำคร่ำอุดหลอดเลือดมักได้จากการชันสูตรโดยพบเซลล์สความัสของทารกในเส้นเลือดปอดของมารดา อย่างไรก็ดี เซลล์สความัสของทารกก็พบได้บ่อยในเส้นเลือดของมารดาที่ไม่มีอาการ สำหรับในมารดาที่มีอาการรุนแรงมากนั้นการพบเซลล์สความัสของทารกในตัวอย่างเลือดที่ได้จาก distal port ของ pulmonary artery catheter ถือว่าทำให้นึกถึงภาวะน้ำคร่ำอุดหลอดเลือดแต่ไม่ใช่เกณฑ์การวินิจฉัย การวินิจฉัยในปัจจุบันใช้การวินิจฉัยโดยการคัดออกที่มีพื้นฐานอยู่บนอาการแสดงทางคลินิก โดยยังต้องนึกถึงสาเหตุอื่นที่ทำให้มี hemodynamic instability ด้วย

อุบัติการณ์

[แก้]

ภาวะน้ำคร่ำอุดหลอดเลือดนั้นพบน้อยมาก การศึกษาวิจัยส่วนใหญ่ประมาณไว้ว่าเกิดขึ้นหนึ่งรายต่อการคลอด 8,000-80,000 ครั้ง การศึกษาชิ้นหนึ่งติดตามกลุ่มประชากรย้อนหลังในการเกิด 3 ล้านครั้ง พบว่ามีกรณีน้ำคร่ำอุดหลอดเลือด 7.7 รายต่อการเกิด 100,000 ครั้ง[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Abenhaim, HA, Azoulay, L, Kramer, MS, Leduc, L. Incidence and risk factors of amniotic fluid embolisms: a population-based study on 3 million births in the United States. Am J Obstet Gynecol 2008; 199:49.e1.
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
น้ำคร่ำอุดหลอดเลือด
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?