For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ไทยลีก ฤดูกาล 2567–68.

ไทยลีก ฤดูกาล 2567–68

ไทยลีก
ฤดูกาล2567–68
วันที่9 สิงหาคม 2567 – 27 เมษายน 2568
จำนวนนัด47
จำนวนประตู137 (2.91 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดธีรศักดิ์ เผยพิมาย
กีแยร์เม บิสซูลี
(คนละ 5 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
4 ประตู
พีที ประจวบ 4–0 หนองบัว พิชญ
(17 สิงหาคม 2567)
การท่าเรือ 5–1 สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด
(19 สิงหาคม 2567)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
4 ประตู
หนองบัว พิชญ 0–4 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
(10 สิงหาคม 2567)
จำนวนประตูสูงสุด6 ประตู
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 4–2 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
(18 สิงหาคม 2567)
การท่าเรือ 5–1 สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด
(19 สิงหาคม 2567)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
2 นัด
การท่าเรือ
นครราชสีมา มาสด้า
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
2 นัด
การท่าเรือ
นครราชสีมา มาสด้า
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
2 นัด
ขอนแก่น ยูไนเต็ด
ราชบุรี
สุโขทัย
หนองบัว พิชญ
อุทัยธานี
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
2 นัด
หนองบัว พิชญ
จำนวนผู้ชมสูงสุด25,093 คน
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 4–2 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
(18 สิงหาคม 2567)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด2,004 คน
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 2–1 พีที ประจวบ
(9 สิงหาคม 2567)
จำนวนผู้ชมรวม100,199 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย6,262 คน
2568–69 →
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 15 กันยายน 2567

ไทยลีก ฤดูกาล 2567–68 หรือ ไฮลักซ์ รีโว่ ไทยลีก ฤดูกาล 2567–68 เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีก ฤดูกาลที่ 28 ฟุตบอลลีกสูงสุดของประเทศไทยสำหรับสโมสรฟุตบอลอาชีพ ตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นในปี 2539 หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไฮลักซ์ รีโว่ ไทยลีก ตามสัญญาการเป็นผู้สนับสนุนกับ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด มีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 16 ทีมในลีก

ตลาดซื้อขายนักเตะช่วงซัมเมอร์เปิดตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม ถึง 9 สิงหาคม 2567 ขณะที่ตลาดซื้อขายนักเตะช่วงหน้าหนาวเปิดตั้งแต่วันที่ 19 ธันวาคม 2567 ถึง 17 มกราคม 2568

บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด เป็นแชมป์เก่าที่ต้องแข่งขันเพื่อป้องกันแชมป์ในปีนี้ โดยที่มี นครราชสีมา มาสด้า, หนองบัว พิชญ และระยอง เป็น 3 สโมสรที่ได้เลื่อนชั้นจากไทยลีก 2 ขึ้นมาเล่นในไทยลีกฤดูกาลนี้

สโมสร

[แก้]

ทั้งหมด 16 สโมสรที่ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันในฤดูกาลนี้ โดยแบ่งเป็น 13 สโมสร จากไทยลีก ฤดูกาล 2566–67 และ 3 สโมสรจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2566–67 ได้แก่ นครราชสีมา มาสด้า และหนองบัว พิชญ ซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นมาแบบอัตโนมัติจากการที่พวกเขาจบอันดับที่ 1 และ 2 ของตารางคะแนนตามลำดับ และระยอง ซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นมาจากการชนะเลิศในรอบเพลย์ออฟ

สโมสรที่เข้าและออกจากไทยลีก

[แก้]

ตกชั้นจากไทยลีก

[แก้]

เลื่อนชั้นจากไทยลีก 2

[แก้]

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

[แก้]
สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2566–67
การท่าเรือ กรุงเทพมหานคร (คลองเตย) แพตสเตเดียม 8,000 3
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ขอนแก่น สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 6,500 8
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ปทุมธานี (คลองหลวง) ทรูสเตเดียม 19,375 2
นครปฐม ยูไนเต็ด นครปฐม สนามกีฬาโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม 6,000 12
นครราชสีมา มาสด้า นครราชสีมา สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 25,000 1 (ไทยลีก 2)
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ปทุมธานี (ธัญบุรี) บีจีสเตเดียม 15,114 4
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ ช้างอารีนา 32,600 1
พีที ประจวบ ประจวบคีรีขันธ์ สามอ่าวสเตเดียม 5,000 10
เมืองทอง ยูไนเต็ด นนทบุรี (ปากเกร็ด) ธันเดอร์โดมสเตเดียม 13,000 5
ระยอง ระยอง สนามกีฬากลางจังหวัดระยอง 7,500 3 (ไทยลีก 2)
ราชบุรี ราชบุรี ดราก้อน โซลาร์ พาร์ค 10,000 6
ลำพูน วอร์ริเออร์ ลำพูน ลำพูน วอร์ริเออร์ สเตเดียม 5,169[1] 9
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย สิงห์ เชียงราย สเตเดียม 13,000 11
สุโขทัย สุโขทัย ทะเลหลวงสเตเดียม 8,000 13
หนองบัว พิชญ หนองบัวลำภู พิชญสเตเดียม 6,000 2 (ไทยลีก 2)
อุทัยธานี อุทัยธานี สนามกีฬากลางจังหวัดอุทัยธานี 4,477 7

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน

[แก้]
สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
การท่าเรือ ไทย รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค ไทย ธนบูรณ์ เกษารัตน์ แกรนด์สปอร์ต
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ไทย ธนา ชะนะบุตร ไทย ปาณเดชา เงินประเสริฐ คัปปา
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ไทย ธชตวัน ศรีปาน บราซิล อีเวร์ตง อาริ
นครปฐม ยูไนเต็ด สิงคโปร์ อักบาร์ นาบาซ ไทย โชคชัย ชูชัย อัมโบร
นครราชสีมา มาสด้า ไทย ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น ไทย ณัฐพงษ์ สายริยา โวลต์
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ญี่ปุ่น มาโกโตะ เทงูราโมริ ไทย ชนาธิป สรงกระสินธ์ ไนกี้
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บราซิล โอสมาร์ ลุส ไทย นฤบดินทร์ วีรวัฒโนดม
พีที ประจวบ ไทย สะสม พบประเสริฐ ไทย นัสตพล มาลาพันธ์ โวลต์
เมืองทอง ยูไนเต็ด อิตาลี จีโน เลตตีเอรี ไทย พิชา อุทรา อีโกสปอร์ต
ระยอง บราซิล การ์ลุส เอดูวาร์ดู ปาร์เรย์รา ไทย วสุศิวกิจ ภูสีฤทธิ์ วายจีสปอร์ต
ราชบุรี ไทย สุรพงษ์ คงเทพ ไทย จักรพันธ์ แก้วพรม อีโกสปอร์ต
ลำพูน วอร์ริเออร์ บราซิล อาเลชังดรี กามา ไทย อัครพงศ์ พุ่มวิเศษ
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด สเปน ชาบี โมโร ไทย สุริยา สิงห์มุ้ย แกรนด์สปอร์ต
สุโขทัย ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ ไทย ทัศนพงศ์ หมวดดารักษ์ คัปปา
หนองบัว พิชญ ไทย สุกฤษฎ์ โยธี ไทย กิตติคุณ แจ่มสุวรรณ อีโกสปอร์ต
อุทัยธานี ไทย จักรพันธ์ ปั่นปี บราซิล รีการ์ดู ซังตุส เกลเม
1. ^ บนด้านหลังเสื้อ
2. ^ บนแขนเสื้อ
3. ^ บนกางเกง

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติกำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไป ไม่เกิน 5 คน และให้มีนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติที่มีสัญชาติอยู่ในประเทศสมาชิกของ เอเอฟซี ได้อีก 1 คน ส่วนนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติที่มีสัญชาติอยู่ในประเทศสมาชิกของอาเซียน สามารถขึ้นทะเบียนได้ไม่จำกัดจำนวน

ชื่อผู้เล่นใน ตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นลงทะเบียนระหว่างช่วงโอนย้ายกลางฤดูกาล

สโมสร ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3 ผู้เล่นรายที่ 4 ผู้เล่นรายที่ 5 ผู้เล่นเอเชีย ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 1 ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 2 ผู้เล่นอาเซียนรายที่ 3 อดีตผู้เล่น
การท่าเรือ บราซิล เฟลีเป อามูริม บราซิล วิลเลี่ยน โมต้า กานา ไอแซค ฮันนี กินี ลอนซานา ดูมบูยา อิรัก ฟรานส์ ปุตรอส ญี่ปุ่น โนโบรุ ชิมูระ อินโดนีเซีย อัซนาวี มังกูวาลัม สิงคโปร์ อีร์ฟัน ฟันดี
ขอนแก่น ยูไนเต็ด บราซิล เบรนเนร์ บราซิล จีเอกู ลังดิส ฝรั่งเศส โลเซมี การาบูเอ กินี-บิสเซา สแตฟว์ อามบรี เกาหลีใต้ อี ซัง-จิน เกาหลีใต้ รยู ซึง-อู
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด บราซิล อีเวร์ตง กูราเซา ริไชโร ฌีฟกอวิช เลบานอน บัสเซล ญระดิ โอมาน มุห์เซน อัลฆัสซะนิ เซอร์เบีย ลูกา อาจิช รัฐปาเลสไตน์ มะห์มูด อีด
นครปฐม ยูไนเต็ด บราซิล วัลดู กานา ควาเม คารีคารี กานา เลสลี อับโลห์ เซอร์เบีย เวลโก ฟิลิโปวิช ญี่ปุ่น ทากุ อิโตะ
นครราชสีมา มาสด้า ออสเตรเลีย นิก อันเซลล์ บราซิล เดนนิส มูริลลู บราซิล เดย์วีซง เฟร์นังจิส ฝรั่งเศส แกรก อูลา เกาหลีใต้ อี จง-ช็อน
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด บราซิล รานีเอล ซันตานา คอสตาริกา เฟรดดี อัลบาเรซ ฝรั่งเศส เซย์ดีน แอนดียาเย เซเนกัล คริสตีย็อง โกมิซ ยูกันดา เมลวิน ลอเรนเซน ญี่ปุ่น กาคูโตะ โนสึดะ สิงคโปร์ อิคซัน ฟันดี สิงคโปร์ อิลฮัน ฟันดี
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บราซิล ครีกูร์ บราซิล กิลแยร์มี บิสซูลี บราซิล ลูกัส กริชปิม บราซิล มาเตวส์ วาร์กัส กินี-บิสเซา มาร์เซโล ดฆาโล เกาหลีใต้ คิม มิน-ฮย็อก มาเลเซีย ดียง กูลส์ ฟิลิปปินส์ เจฟเฟอร์สัน ทาบินาส ฟิลิปปินส์ นีล อีเทอริดจ์
พีที ประจวบ บราซิล ไอร์ตง บราซิล บาร์รอส ทาร์เดลี บราซิล ตาอัว บราซิล วังเดร์ อิหร่าน อามีร์อาลี เชร์จินี เกาหลีใต้ ช็อง อู-กึน
เมืองทอง ยูไนเต็ด คอสตาริกา เฟลิซิโอ บราวน์ โครเอเชีย เดนิส บุชน์ยา ฝรั่งเศส อาลี ซีซอโก ฟิลิปปินส์ ย็อฮ์น-พัททริค ชเตราสส์ สวีเดน เอมิล โรบัค อุซเบกิสถาน อับบอส โอทาโคนอฟ อินโดนีเซีย โรนัลโด กวาเต็ฮ์ ฟิลิปปินส์ สก็อตต์ วูดส์ สิงคโปร์ ยาคอบ มาห์เลอร์
ระยอง บราซิล จีเอกู ซิลวา บราซิล สเตนีอู ฌูนีโยร์ ญี่ปุ่น เรียวมะ อิโตะ ญี่ปุ่น ฮิโรมิจิ คาตาโนะ สเปน ดาบิด คูเอร์บา รัฐปาเลสไตน์ ยะชิร อิสละมี ประเทศพม่า ลวีนโมออง ฟิลิปปินส์ อมานี อกินัลโด
ราชบุรี ฝรั่งเศส เกลม็อง เดอเพรซ ฝรั่งเศส กาบรีแยล มูว์ตงโบ กินี โมฮาเหม็ด มารา ญี่ปุ่น ทัตสึยะ ทานากะ สเปน ตานา เกาหลีใต้ คิม จี-มิน บรูไน ฟาอิค โบลเกียห์ ฟิลิปปินส์ เจสซี เคอร์แรน กินี ยัซเซอร์ บาลเด
มาดากัสการ์ เอ็นจีวา ราโคโตฮารีมาลาลา
ลำพูน วอร์ริเออร์ บราซิล แฌเฟร์ซง อาซิส บราซิล ฌูนีโยร์ บาทิสตา บราซิล เนเกบา บราซิล รีการ์ดู ลอปิส บราซิล วิกตูร์ การ์ดูซู ซีเรีย มุฮัมมัด ออสมัน ประเทศพม่า มองมองลวีน ฟิลิปปินส์ กีเก ลินาเรส ฟิลิปปินส์ ออสการี เกกโกเนน
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด บราซิล การ์ลุส อิวรี บราซิล ราล์ฟ บราซิล โรดรีกิญญู บราซิล วิกตูร์ โอลีเวย์รา จีน กัว เทียนหยู เกาหลีใต้ อี จ็อง-มุน ประเทศพม่า วีนไนง์ตูน สิงคโปร์ ฮาฮิส สจวร์ต
สุโขทัย บราซิล คลาวดีอู บราซิล มาเตอัส ลีมา บราซิล มาเตวส์ ฟูร์นาซารี ญี่ปุ่น เอโตะ อิชิโมโตะ มาดากัสการ์ จอห์น บักจีโอ ญี่ปุ่น ฮิการุ มัตสึอิ
หนองบัว พิชญ บราซิล คงราดู บราซิล ฌาร์เดล บราซิล จอร์จ เฟลลีเป แคนาดา มาร์คัส ฮาเบอร์ ซูดาน อะโบ อีซา เกาหลีใต้ พัก จง-อู
อุทัยธานี บราซิล ชูลีอู แซซาร์ บราซิล ลูกัส จีอัส บราซิล รีการ์ดู ซังตุส โคลอมเบีย โฆนาตัน อากูเดโล ออสเตรเลีย เทร์รี อันโทนิส ประเทศพม่า อองตู ฟิลิปปินส์ โจชัว กรอมเมน ฟิลิปปินส์ จัสติน บาส

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

[แก้]
สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
ระยอง ไทย พิภพ อ่อนโม้ แยกทาง 25 พฤษภาคม 2567[2] ก่อนเริ่มฤดูกาล บราซิล การ์ลุส เอดูวาร์ดู ปาร์เรย์รา 15 มิถุนายน 2567[3]
สุโขทัย ญี่ปุ่น ซูงาโอะ คัมเบะ 26 พฤษภาคม 2567 ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ 3 มิถุนายน 2567[4]
ราชบุรี สเปน การ์โลส เปญญา ไทย สุรพงษ์ คงเทพ 28 มิถุนายน 2567[5]
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บราซิล แอแมร์ซง เปเรย์รา (รักษาการ) สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ 6 มิถุนายน 2567 บราซิล โอสมาร์ ลุส 26 มิถุนายน 2567[6]
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด บราซิล กาบรีแยล มากัลไยส์ แยกทาง สเปน ชาบี โมโร 7 กรกฎาคม 2567
เมืองทอง ยูไนเต็ด เซอร์เบีย มีลอช ยอกซิช 23 มิถุนายน 2567 อิตาลี จีโน เลตตีเอรี 6 กรกฎาคม 2567[7]
ไทย อุทัย บุญเหมาะ ปรับโครงสร้าง

ตารางคะแนน

[แก้]

อันดับ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 6 5 1 0 19 2 +17 16 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีลิท รอบลีก
2 การท่าเรือ 6 4 2 0 16 6 +10 14 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกทู รอบแบ่งกลุ่ม
3 เมืองทอง ยูไนเต็ด 6 3 2 1 9 5 +4 11
4 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 6 3 2 1 11 8 +3 11
5 พีที ประจวบ 6 3 1 2 10 5 +5 10
6 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 6 3 1 2 10 7 +3 10
7 นครราชสีมา มาสด้า 6 2 4 0 8 6 +2 10
8 อุทัยธานี 6 2 3 1 8 6 +2 9
9 ลำพูน วอร์ริเออร์ 6 2 2 2 8 8 0 8
10 หนองบัว พิชญ 6 1 3 2 6 13 −7 6
11 ราชบุรี 6 1 2 3 9 10 −1 5
12 ระยอง 6 1 2 3 5 11 −6 5
13 สุโขทัย 6 1 1 4 9 15 −6 4
14 สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 5 1 1 3 4 13 −9 4 ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2568–69
15 นครปฐม ยูไนเต็ด 5 1 0 4 5 12 −7 3
16 ขอนแก่น ยูไนเต็ด 6 0 1 5 2 12 −10 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 15 กันยายน 2567. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสีย 4. ประตูที่ทำได้ 5. คะแนนแฟร์เพลย์ 6. เพลย์ออฟไม่ต่อเวลาพิเศษ ดวลจุดโทษทันทีถ้าเสมอ


อันดับตามสัปดาห์

[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ชนะเลิศและได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีลิท 2025–26 รอบแบ่งกลุ่ม
ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2568–69
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2567 อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น

[แก้]
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2567 อ้างอิง: ไทยลีก
W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า / เยือน PRT KKU BKU NPU NRM BGP BRU PRA MTU RAY RBR LPW CRU SKT NPY UTT
การท่าเรือ 0–0 5–1 4–1
ขอนแก่น ยูไนเต็ด 1–2 0–3 0–3 1–1
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 2–1 3–2 0–0
นครปฐม ยูไนเต็ด 0–3 1–2
นครราชสีมา มาสด้า 1–1 2–1 1–1
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 0–1 2–0 1–1
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 4–2 3–0
พีที ประจวบ 1–0 3–0 4–0
เมืองทอง ยูไนเต็ด 2–0 1–0 4–2
ระยอง 1–3 1–1 1–1
ราชบุรี 2–2 2–3 4–1 1–1
ลำพูน วอร์ริเออร์ 1–0 3–3 1–0
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 2–0 0–5 1–1
สุโขทัย 1–3 2–0 2–3
หนองบัว พิชญ 2–1 0–4 0–0
อุทัยธานี 1–1 3–1 1–1
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 15 กันยายน 2567. ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ

[แก้]

แฮตทริก

[แก้]
ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่

คลีนชีตส์

[แก้]
ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2567
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1 ฟิลิปปินส์ นีล อีเทอริดจ์ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1
ไทย ฉัตรชัย บุตรพรม พีที ประจวบ
ไทย กิตติพงศ์ ภูแถวเชือก เมืองทอง ยูไนเต็ด
ไทย กรกฎ พิพัฒน์นัดดา ระยอง
ไทย นนท์ ม่วงงาม ลำพูน วอร์ริเออร์
ไทย อภิรักษ์ วรวงษ์ สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด

รางวัล

[แก้]

รางวัลประจำเดือน

[แก้]
เดือน ผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำเดือน ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำเดือน ประตูยอดเยี่ยมประจำเดือน อ้างอิง
ผู้จัดการทีม สโมสร ผู้เล่น สโมสร ผู้เล่น สโมสร

รางวัลประจำฤดูกาล

[แก้]

ผู้ชม

[แก้]

สถิติผู้ชมทั้งหมด

[แก้]
อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 25,093 25,093 25,093 25,093 +21.4%
2 นครราชสีมา มาสด้า 10,021 10,021 10,021 10,021 +77.0%
3 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 7,870 7,870 7,870 7,870 −3.3%
4 การท่าเรือ 6,250 6,250 6,250 6,250 +38.6%
5 ระยอง 6,250 6,250 6,250 6,250 +496.4%
6 หนองบัว พิชญ 5,955 5,955 5,955 5,955 +253.2%
7 ลำพูน วอร์ริเออร์ 5,179 5,179 5,179 5,179 +78.5%
8 สุโขทัย 5,037 5,037 5,037 5,037 +130.2%
9 เมืองทอง ยูไนเต็ด 4,711 4,711 4,711 4,711 −3.4%
10 ขอนแก่น ยูไนเต็ด 4,347 4,347 4,347 4,347 −5.5%
11 นครปฐม ยูไนเต็ด 3,989 3,989 3,989 3,989 +49.6%
12 ราชบุรี 7,757 4,430 3,327 3,879 +16.1%
13 สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 2,886 2,886 2,886 2,886 −28.5%
14 พีที ประจวบ 2,850 2,850 2,850 2,850 −4.4%
15 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 2,004 2,004 2,004 2,004 −28.0%
16 อุทัยธานี 0 0 0 0 −100.0%
รวม 100,199 25,093 2,004 6,262 +33.3%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2567
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
ทีมที่เล่นในไทยลีก 2 เมื่อฤดูกาลที่แล้ว

จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า

[แก้]
ทีม / สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 รวม
การท่าเรือ 6,250 6,250
ขอนแก่น ยูไนเต็ด 4,347 4,347
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 2,004 2,004
นครปฐม ยูไนเต็ด 3,989 3,989
นครราชสีมา มาสด้า 10,021 10,021
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 7,870 7,870
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 25,093 25,093
พีที ประจวบ 2,850 2,850
เมืองทอง ยูไนเต็ด 4,711 4,711
ระยอง 6,250 6,250
ราชบุรี 4,430 3,327 7,757
ลำพูน วอร์ริเออร์ 5,179 5,179
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด 2,886 2,886
สุโขทัย 5,037 5,037
หนองบัว พิชญ 5,955 5,955
อุทัยธานี

แหล่งที่มา: ไทยลีก

อ้างอิง

[แก้]
  1. สโมสรลำพูน วอริเออร์ ประกาศรังเหย้าแห่งใหม่ "ลำพูน วอริเออร์ สเตเดี้ยม" พร้อมใช้จัดการแข่งขันฟุตบอลรีโว่ ไทยลีก ฤดูกาล 2024/2025
  2. "พิภพ อ่อนโม้ บอกลา ระยอง เอฟซี อย่างเป็นทางการ". ballthai.com. 27 May 2024. สืบค้นเมื่อ 15 June 2024.
  3. "ระยอง เอฟซี ตั้ง โค้ชคาร์ลอส คุมทัพลุยไทยลีก". siamsport.co.th. 15 June 2024. สืบค้นเมื่อ 15 June 2024.
  4. "สุโขทัย เอฟซี ตั้ง อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ เป็นเฮดโค้ชคนใหม่". ballthai.com. 3 June 2024. สืบค้นเมื่อ 15 June 2024.
  5. "ทางการ! ราชบุรี เปิดตัว "โค้ชอั๋น-สุรพงษ์" นั่งกุนซือใหญ่คุมทัพ". siamsport.co.th. 28 June 2024. สืบค้นเมื่อ 6 July 2024.
  6. "ออสมาร์ ลอสส์ แม่ทัพใหม่ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด". siamsport.co.th. 26 June 2024. สืบค้นเมื่อ 6 July 2024.
  7. "ดีกรีเข้ม! เมืองทอง ตั้ง 'จิโน่ เล็ตติเอรี่' เป็นเฮดโค้ช". siamsport.co.th. 6 July 2024. สืบค้นเมื่อ 6 July 2024.
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ไทยลีก ฤดูกาล 2567–68
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?