For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for เอกภพที่สังเกตได้.

เอกภพที่สังเกตได้

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)
เอกภพที่สังเกตได้
การแสดงภาพของเอกภพที่สังเกตได้ทั้งหมด สเกลเป็นแบบที่เกรนละเอียดแสดงถึงคอลเล็กชันของซูเปอร์คลัสเตอร์จำนวนมาก Virgo Supercluster—บ้านของทางช้างเผือก—มีเครื่องหมายอยู่ตรงกลาง แต่เล็กเกินกว่าจะมองเห็นได้
เส้นผ่านศูนย์กลาง8.8×1026 m or 880 Ym (28.5 Gpc or 93 Gly)[1]
ปริมาณ3.566×1080 m3[2]
มวล (สารธรรมดา)1.5×1053 kg[note 1]
ความหนาแน่น (ของพลังงานทั้งหมด)9.9×10−27 kg/m3 (เทียบเท่ากับ 6 โปรตอน ต่อพื้นที่หนึ่งลูกบาศก์เมตร)[3]
อายุ13.799±0.021 พันล้านปี[4]
อุณหภูมิเฉลี่ย2.72548 K[5]
เนื้อหา
ภาพมุมกว้างของท้องฟ้าถ่ายด้วยเทคนิค near-infrared แสดงให้เห็นการกระจายตัวของกาแล็กซีต่างๆ นอกเหนือจากทางช้างเผือก มีจำนวนทั้งสิ้นมากกว่า 1.5 ล้านกาแล็กซี

ตามทฤษฎีบิกแบง เอกภพที่สังเกตได้ (อังกฤษ: Observable Universe) คือขอบเขตห้วงอวกาศในกรอบทรงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ผู้สังเกตการณ์ ที่มีขนาดเล็กพอที่เราจะสังเกตวัตถุต่าง ๆ ภายในได้ เช่น ระยะเวลาที่นานพอสำหรับการแพร่สัญญาณจากวัตถุ ณ เวลาใด ๆ หลังเหตุการณ์บิกแบง มีการเคลื่อนที่เท่าความเร็วแสง และเดินทางมาถึงผู้สังเกตการณ์ ณ เวลาปัจจุบัน ทุก ๆ ตำแหน่งมีเอกภพที่สังเกตได้ของจุดนั้น ๆ ซึ่งอาจพอดีหรือเหลื่อมกันกับเอกภพที่สังเกตได้จากโลก ในทางทฤษฎีเอกภพที่สังเกตได้อาจมีขนาดเล็กกว่าหรือใหญ่กว่าขนาดของเอกภพจริง

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  1. Itzhak Bars; John Terning (2009). Extra Dimensions in Space and Time. Springer. pp. 27–. ISBN 978-0-387-77637-8. สืบค้นเมื่อ 2011-05-01.
  2. "volume universe - Wolfram|Alpha". www.wolframalpha.com.
  3. "What is the Universe Made Of?". NASA. สืบค้นเมื่อ June 1, 2022.
  4. Planck Collaboration (2016). "Planck 2015 results. XIII. Cosmological parameters (See Table 4 on page 32 of pdf)". Astronomy & Astrophysics. 594: A13. arXiv:1502.01589. Bibcode:2016A&A...594A..13P. doi:10.1051/0004-6361/201525830. S2CID 119262962.
  5. Fixsen, D. J. (December 2009). "The Temperature of the Cosmic Microwave Background". The Astrophysical Journal. 707 (2): 916–920. arXiv:0911.1955. Bibcode:2009ApJ...707..916F. doi:10.1088/0004-637X/707/2/916. S2CID 119217397.
  6. "Planck cosmic recipe".


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "note" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="note"/> ที่สอดคล้องกัน

{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
เอกภพที่สังเกตได้
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?