For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for เฟนิโทอิน.

เฟนิโทอิน

เฟนิโทอิน
Structural formula of phenytoin
Ball-and-stick model of the phenytoin molecule
ข้อมูลทางคลินิก
การอ่านออกเสียง/fəˈnɪtɪn/; /ˈfɛnɪtɔɪn/
ชื่อทางการค้าOriginally Dilantin, many names worldwide[1]
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682022
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: D
  • US: D (มีความเสี่ยง)
ช่องทางการรับยาทางปาก, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
  • AU: S4 (ต้องใช้ใบสั่งยา)
  • CA: ℞-only
  • UK: POM (Prescription only)
  • US: ℞-only
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล70–100% oral, 24.4% for rectal administration
การจับกับโปรตีน95%[2]
การเปลี่ยนแปลงยาตับ
ระยะเริ่มออกฤทธิ์10 to 30 min (IV)[3]
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ10–22 ชั่วโมง[2]
ระยะเวลาออกฤทธิ์24 ชั่วโมง
การขับออกผ่านท่อน้ำดี, กระเพาะปัสสาวะ
ตัวบ่งชี้
  • 5,5-diphenylimidazolidine-2,4-dione
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.000.298
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC15H12N2O2
มวลต่อโมล252.268 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
SMILES
  • O=C2NC(=O)NC2(c1ccccc1)c3ccccc3
InChI
  • InChI=1S/C15H12N2O2/c18-13-15(17-14(19)16-13,11-7-3-1-4-8-11)12-9-5-2-6-10-12/h1-10H,(H2,16,17,18,19) ☒N
  • Key:CXOFVDLJLONNDW-UHFFFAOYSA-N ☒N
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

เฟนิโทอิน (Phenytoin) หรือชื่อทางการค้าคือ ไดแลนติน (Dilantin)[1] เป็นยากันชัก ใช้สำหรับป้องกันอาการโคลนัสและการเป็นลมชักอย่างปัจจุบันทันด่วน มีแบบรับประทานสำหรับผู้ป่วยทั่วไป[2] แต่สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะชักต่อเนื่อง แพทย์อาจจ่ายยากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีนเพื่อบรรเทาอาการชัก หากยังไม่ดีขึ้นจึงจะใช้ยาเฟนิโทอินโดยการฉีด ซึ่งจะออกฤทธิภายใน 30 นาทีและจะคงฤทธิได้นานถึง 24 ชั่วโมง[3] นอกจากนี้ เฟนิโทอินยังถูกใช้เพื่อรักษาอารหัวใจเต้นผิดจังหวะและความเจ็บปวดทางประสาทอีกด้วย ทั้งนี้ แพทย์อาจวัดความดันเพื่อกำหนดปริมาณยาที่เหมาะสม[2]

ผลข้างเคียงของการใช้เฟนิโทอิน ได้แก่ อาการคลื่นไส้, ปวดท้อง, ไม่อยากอาหาร, มองไม่ชัด, ขนขึ้นเร็ว และเหงือกบวม ผลข้างเคียงแบบรุนแรงได้แก่ ง่วงนอน, ทำร้ายตนเอง, โรคตับ, ไขกระดูกผลิตเม็ดเลือดได้น้อย, ความดันโลหิตต่ำ และผิวลอก ยาประเภทนี้ห้ามใช้ระหว่างตั้งครรภ์เนื่องจากอาจทำให้เกิดความผิดปกติในทารก แต่ปลอดภัยหากจะใช้ระหว่างภาวะให้นมบุตร

เฟนิโทอินถูกสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1908 โดยแพทย์ชาวเยอรมัน ไฮน์ริช บลิทซ์ แต่มาค้นพบว่าสามารถใช้รักษาลมชักได้ในปี ค.ศ. 1936[4][5] ยานี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก เป็นยาสำคัญที่ใช้ในงานสาธารณสุขทั่วไป[6] เป็นยาที่มีราคาค่อนข้างถูก

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Drugs.com International trade names for phenytoin Page accessed Feb 27, 2016
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "Phenytoin". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ Aug 22, 2015.
  3. 3.0 3.1 Marx, John A. (2010). Rosen's emergency medicine : concepts and clinical practice (7 ed.). Philadelphia: Mosby/Elsevier. p. 1352. ISBN 9780323054720.
  4. Aicardi, Jean (2008). Epilepsy : a comprehensive textbook (2nd ed.). Philadelphia: Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins. p. 1431. ISBN 9780781757775.
  5. Wolfson, Allan B. (2010). Harwood-Nuss' clinical practice of emergency medicine (5th ed.). Philadelphia, PA: Lippincott Williams & Wilkins. p. 1415. ISBN 9780781789431. สืบค้นเมื่อ 9 June 2016.
  6. "WHO Model List of Essential Medicines" (PDF). World Health Organization. October 2013. สืบค้นเมื่อ 22 April 2014.
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
เฟนิโทอิน
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?