For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for เทือกเขาหิมาลัย.

เทือกเขาหิมาลัย

หิมาลัย
หิมาลยฺ
ภาพมุมกว้างของภูเขาเอเวอเรสต์และภูมิทัศน์โดยรอบ
จุดสูงสุด
ยอดภูเขาเอเวอเรสต์ (เนปาลกับทิเบต)
ความสูง
เหนือระดับน้ำทะเล
8,848.86 เมตร (29,032 ฟุต)
พิกัด27°59′N 86°55′E / 27.983°N 86.917°E / 27.983; 86.917
ข้อมูลเชิงขนาด
ยาว2,400 กม. (1,491 ไมล์)
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
แผนที่ช่วงหลักของหิมาลัย
ประเทศภูฏาน, จีน, อินเดีย, เนปาล, ปากีสถาน และ บางส่วนของอัฟกานิสถาน
ข้อมูลทางธรณีวิทยา
การก่อเทือกเขาอัลไพน์
อายุหินCretaceous-ถึง-Cenozoic
ประเภทหินเมทามอร์ฟิก, เซดิเมนทารี

หิมาลัย (हिमालय, จากภาษาสันสกฤต: หิมะ สันสกฤต: हिम, อักษรโรมัน: hima กับ อาลยฺ สันสกฤต: आलय, อักษรโรมัน: ālaya) เป็นเทือกเขาในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกซึ่งแยกอนุทวีปอินเดียออกจากที่ราบสูงทิเบต ในเทือกเขาประกอบด้วยยอดเขาที่สูงที่สุดในโลกหลายจุด ในจำนวนนี้มีทั้งยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก ภูเขาเอเวอเรสต์ ที่พรมแดนเนปาลกับทิเบต และมีภูเขาที่สูงที่สุดในโลกกว่า 50 ภูเขา ความสูงเกิน 7,200 m (23,600 ft) จากระดับน้ำทะเล ในจำนวนนี้มีภูเขาสิบลูกจากภูเขาสูงเกิน 8,000 เมตรทั่วโลกจำนวนสิบสี่ลูก ในขณะที่ยอดเขาสูงสุดนอกเอเชีย (เขาอากองกากัวในเทือกเขาแอนดีส) สูงเพียง 6,961 m (22,838 ft)[1]

เทิอกเขาหิมาลัยเกิดจากการมุดของแผ่นเปลือกโลกอินเดียลงใต้แผ่นยูเรเชีย เทือกเขากินพื้นที่จากตะวันตกถึงตะวันตกเฉียงเหนือ ไปทางตะวันออกถึงตะวันออกเฉียงเหนือ ความยาวกว่า 2,400 km (1,500 mi)[2]

มีผู้อยู่อาศัยบนหิมาลัยรวม 52.7 ล้านคน[3] ในพื้นที่ห้าประเทศ: ภูฏาน, จีน, อินเดีย, เนปาล และ ปากีสถาน เทือกเขาฮินดูกูชในอัฟกานิสถาน[4] และ Hkakabo Razi ในพม่ากับบังกลาเทศ มักไม่ถูกนับรวมเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัย แต่จะถูกนับรวมในระบบแม่น้ำฮินดูกูชหิมาลายัน[5][ต้องการอ้างอิงเต็มรูปแบบ]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Yang, Qinye; Zheng, Du (2004). Himalayan Mountain System. ISBN 978-7-5085-0665-4. สืบค้นเมื่อ 30 July 2016.
  2. Wadia, D. N. (1931). "The syntaxis of the northwest Himalaya: its rocks, tectonics and orogeny". Record Geol. Survey of India. 65 (2): 189–220.
  3. Apollo, M. (2017). "Chapter 9: The population of Himalayan regions – by the numbers: Past, present and future". ใน Efe, R.; Öztürk, M. (บ.ก.). Contemporary Studies in Environment and Tourism. Cambridge Scholars Publishing. pp. 143–159.
  4. "Is Hindu Kush a part of the Himalayas?". study.com.
  5. "Regional Information".
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
เทือกเขาหิมาลัย
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?