For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for เคลวิน.

เคลวิน

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)
เคลวิน
เทอร์มอมิเตอร์ที่มีเครื่องหมายเป็นองศาเซลเซียสและเคลวิน
ข้อมูลทั่วไป
ระบบการวัดระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (SI)
เป็นหน่วยของอุณหภูมิ
สัญลักษณ์K 
ตั้งชื่อตามวิลเลียม ทอมสัน บารอนเคลวินที่ 1
การแปลงหน่วย
1 K ใน ...... มีค่าเท่ากับ ...
   หน่วยเอสไอ   x − 273.15 °C
   หน่วยอังกฤษ/ธรรมเนียมสหรัฐ   1.8 ( x − 273.15) + 32 °F
   องศาสัมบูรณ์อังกฤษ/สหรัฐ   1.8 x °Ra

เคลวิน (อังกฤษ: kelvin, สัญลักษณ์: K) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิหนึ่ง และเป็นหน่วยพื้นฐานหนึ่งในเจ็ดของระบบเอสไอ นิยามให้เท่ากับ 1/273.16 เท่าของอุณหภูมิเทอร์โมไดนามิกของจุดสามสถานะของน้ำ เคลวินตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแต่นักฟิสิกส์และวิศวกรชาวอังกฤษ วิลเลียม ทอมสัน บารอนที่หนึ่งแห่ง เคลวิน (William Thomson, 1st Baron Kelvin) ซึ่งชื่อบรรดาศักดิ์นี้ตั้งตามชื่อ แม่น้ำเคลวิน อีกทีหนึ่ง แม่น้ำสายนี้ตัดผ่านมหาวิทยาลัยกลาสโกว์ สกอตแลนด์

เคลวิน เป็นหน่วยของหน่วยวัดอุณหภูมิหนึ่ง ที่ลอร์เควิน ได้พัฒนาคิดสเกลขึ้นใหม่ โดยหาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความเร็วของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส โดยสังเกตว่าถ้าให้ความร้อนกับสสารมากขึ้น อิเล็กตรอนจะมีพลังงานมากขึ้น ทำให้เคลื่อนที่มีความเร็วมากขึ้น ในทางกลับกันถ้าลดความร้อนให้กับสสาร อิเล็กตรอนก็จะมีพลังงานน้อยลง ทำให้การเคลื่อนที่ลดลง และถ้าสามารถลดอุณหภูมิลงจนถึงจุดที่อิเล็กตรอนหยุดการเคลื่อนที่ ณ จุดนั้น จะไม่มีอุณหภูมิหรือพลังงานในสสารเลย และจะไม่มีการแผ่รังสีความร้อนจากวัตถุ จึงเรียกอุณหภูมิ ณ จุดนี้ว่า ศูนย์สัมบูรณ์ (0 K)

อุณหภูมิของสี

[แก้]

เคลวินมักใช้เป็นมาตรวัดของอุณหภูมิสีของแหล่งกำเนิดแสง อุณหภูมิของสีอยู่บนหลักการที่ว่าวัตถุดำจะเปล่งแสงที่มีการกระจายความถี่ที่เป็นลักษณะเฉพาะของอุณหภูมิของมัน วัตถุสีดำที่อุณหภูมิต่ำกว่าประมาณ 4000 K จะมีสีแดงและถ้าสูงกว่า 7500 K จะออกสีน้ำเงิน สีของอุณหภูมิมีความสำคัญในด้านของการฉายภาพ และ การถ่ายภาพ ซึ่งอุณหภูมิของสีประมาณ 5600 K จำเป็นสำหรับฟิล์มถ่ายรูปในตอนเช้า ในดาราศาสตร์ การแบ่งแยกดวงดาว ของดาวและสถานที่บน แผนภาพของแฮร์ทสชปรุง–รัสเซลล์ ส่วนนึงขึ้นอยู่กับอุณหภมิพื้นผิวของพวกดาว ซึ่งเรียกกันว่า อุณหภูมิยังผล ยกตัวอย่าง เช่น ชั้นโฟโตสเฟียร์ของ ดวงอาทิตย์ มี อุณหภูมิยังผล ประมาณ 5778 K

กล้องดิจิทัล และ โปรแกรมรูปภาพส่วนใหญ่ใช้ อุณหภูมิของสีในหน่วย เคลวิน ใน การแก้ไข (edit) และ เซ็ทอัพเมนู (setup menus) หลักการอย่างง่ายๆคือ ยิ่งสีที่มีอุณหภูมิสูง จะสามารถสร้างรูปภาพที่มีเฉดสีของ สีขาวและสีน้ำเงินสดขึ้น หากอุณหภูมิของสีลดลงจะส่งผลให้รูปภาพมีสีแดงเป็นสีเด่น "สีอุ่น"

{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
เคลวิน
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?