For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for เครื่องหมายวรรคตอน.

เครื่องหมายวรรคตอน

เครื่องหมายวรรคตอนวรรคตอน อะพอสทรอฟี ’  ' วงเล็บ [ ]  ( )  { }  ⟨ ⟩ ทวิภาค : จุลภาค ,  ،  、 จุดไข่ปลา …  ...  . . .  ⋯  ᠁  ฯ อัศเจรีย์  ! มหัพภาค . กิลเลอเมต ‹ ›  « » ยัติภังค์ - ยัติภาค –  — ปรัศนี  ? อัญประกาศ ‘ ’  “ ”  ' '  " " อัฒภาค ; ทับ /  ⧸  ⁄ ตัวแบ่งคำ อินเตอร์พังก์ · เว้นวรรค         การพิมพ์ทั่วไป แอมเพอร์แซนด์ & ดอกจัน * แอต @ แบ็กสแลช \ เบสิสพอยต์บุลเลตแคเรต ^ แดกเกอร์ † ‡ ⹋ องศา ° บุพสัญญา ” 〃 ดับเบิลไฮเฟน = ⸗ อัศเจรีย์กลับหัว ¡ ปรัศนีกลับหัว ¿ เครื่องหมายอ้างอิงเครื่องหมายคูณ × นัมเบอร์, แฮชแท็ก # นูเมอโรออเบอลุส ÷ ตัวบอกลำดับ º ª สัญลักษณ์ร้อยละ (เปอร์เซ็นต์)  % สัญลักษณ์พันละ (เปอร์มิลล์) ‰ พิลโครว์บวกและลบ + − บวกหรือลบ ± ∓ ไพรม์ ′  ″  ‴ เซกชัน § ทิลเดอ, ตัวหนอน ~ อันเดอร์สกอร์ _ เส้นตั้ง |  ‖  ¦ ทรัพย์สินทางปัญญา ลิขสิทธิ์ © กอปปีเลฟต์ 🄯 ลิขสิทธิ์การอัดเสียงเครื่องหมายการค้าจดทะเบียน ® เซอร์วิสมาร์กเครื่องหมายการค้าสกุลเงิน เครื่องหมายสัญลักษณ์สกุลเงิน ¤ สัญลักษณ์สกุลเงิน ؋฿¢$֏ƒ£元 圆 圓 ¥ การพิมพ์เฉพาะทาง แอสเทอริซึมฟลอวรอนดัชนีอินเทอร์รอแบงวรรคตอนไอเรอนีลอซินจ์ไท ⁀ ที่เกี่ยวข้อง.mw-parser-output .plainlist ul{line-height:inherit;list-style:none none;margin:0}.mw-parser-output .plainlist ul li{margin-bottom:0}body.skin-minerva .mw-parser-output .plainlist ul{list-style:none;padding-left:0} เครื่องหมายเสริมอักษรเครื่องหมายตรรกศาสตร์ อักษรไวท์สเปซ ในภาษาอื่น ๆจีนฮีบรูญี่ปุ่นเกาหลีในภาษาไทยโคมูตรตีนครุไปยาลน้อยไปยาลใหญ่ ฯลฯ ฟองมันไม้ยมกอังคั่น ฯ, ฯะ, ๚, ๚ะ หมวดหมู่ .mw-parser-output .hlist dl,.mw-parser-output .hlist ol,.mw-parser-output .hlist ul{margin:0;padding:0}.mw-parser-output .hlist dd,.mw-parser-output .hlist dt,.mw-parser-output .hlist li{margin:0;display:inline}.mw-parser-output .hlist.inline,.mw-parser-output .hlist.inline dl,.mw-parser-output .hlist.inline ol,.mw-parser-output .hlist.inline ul,.mw-parser-output .hlist dl dl,.mw-parser-output .hlist dl ol,.mw-parser-output .hlist dl ul,.mw-parser-output .hlist ol dl,.mw-parser-output .hlist ol ol,.mw-parser-output .hlist ol ul,.mw-parser-output .hlist ul dl,.mw-parser-output .hlist ul ol,.mw-parser-output .hlist ul ul{display:inline}.mw-parser-output .hlist .mw-empty-li{display:none}.mw-parser-output .hlist dt::after{content:": "}.mw-parser-output .hlist dd::after,.mw-parser-output .hlist li::after{content:" · ";font-weight:bold}.mw-parser-output .hlist dd:last-child::after,.mw-parser-output .hlist dt:last-child::after,.mw-parser-output .hlist li:last-child::after{content:none}.mw-parser-output .hlist dd dd:first-child::before,.mw-parser-output .hlist dd dt:first-child::before,.mw-parser-output .hlist dd li:first-child::before,.mw-parser-output .hlist dt dd:first-child::before,.mw-parser-output .hlist dt dt:first-child::before,.mw-parser-output .hlist dt li:first-child::before,.mw-parser-output .hlist li dd:first-child::before,.mw-parser-output .hlist li dt:first-child::before,.mw-parser-output .hlist li li:first-child::before{content:" (";font-weight:normal}.mw-parser-output .hlist dd dd:last-child::after,.mw-parser-output .hlist dd dt:last-child::after,.mw-parser-output .hlist dd li:last-child::after,.mw-parser-output .hlist dt dd:last-child::after,.mw-parser-output .hlist dt dt:last-child::after,.mw-parser-output .hlist dt li:last-child::after,.mw-parser-output .hlist li dd:last-child::after,.mw-parser-output .hlist li dt:last-child::after,.mw-parser-output .hlist li li:last-child::after{content:")";font-weight:normal}.mw-parser-output .hlist ol{counter-reset:listitem}.mw-parser-output .hlist ol>li{counter-increment:listitem}.mw-parser-output .hlist ol>li::before{content:" "counter(listitem)"\a0 "}.mw-parser-output .hlist dd ol>li:first-child::before,.mw-parser-output .hlist dt ol>li:first-child::before,.mw-parser-output .hlist li ol>li:first-child::before{content:" ("counter(listitem)"\a0 "}.mw-parser-output .navbar{display:inline;font-size:88%;font-weight:normal}.mw-parser-output .navbar-collapse{float:left;text-align:left}.mw-parser-output .navbar-boxtext{word-spacing:0}.mw-parser-output .navbar ul{display:inline-block;white-space:nowrap;line-height:inherit}.mw-parser-output .navbar-brackets::before{margin-right:-0.125em;content:"[ "}.mw-parser-output .navbar-brackets::after{margin-left:-0.125em;content:" ]"}.mw-parser-output .navbar li{word-spacing:-0.125em}.mw-parser-output .navbar a>span,.mw-parser-output .navbar a>abbr{text-decoration:inherit}.mw-parser-output .navbar-mini abbr{font-variant:small-caps;border-bottom:none;text-decoration:none;cursor:inherit}.mw-parser-output .navbar-ct-full{font-size:114%;margin:0 7em}.mw-parser-output .navbar-ct-mini{font-size:114%;margin:0 4em}

เครื่องหมายวรรคตอน เป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเขียนอักษรในภาษาหนึ่ง ๆ เพื่อประโยชน์ในการแบ่งวรรคตอน มักจะไม่เกี่ยวกับระบบเสียงใด ๆ ทั้งสิ้น

ในแต่ละภาษาจะมีเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ กัน และมีกฎเกณฑ์การใช้ต่าง ๆ กัน ซึ่งผู้ใช้ภาษานั้นจะต้องทราบ และใช้ตามกฎที่ปฏิบัติกันมา เพื่อให้มีความเข้าใจในภาษาไปในทางเดียวกัน

เครื่องหมายวรรคตอนภาษาไทย

[แก้]

ในเอกสารโบราณของไทยมีเครื่องหมายวรรคตอนของไทยอยู่หลายตัว และบางตัวนิยมใช้มาถึงปัจจุบัน โดยแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มตามเกณฑ์การใช้งาน ดังนี้

  1. เครื่องหมายกำกับเสียง ได้แก่
    1. ไม้ยมก: ใช้เพื่อซ้ำเสียงเดิม
    2. ทัณฑฆาต: ใช้เพื่อฆ่าเสียง หรือเพื่อไม่ออกเสียงพยัญชนะที่กำกับไว้
    3. ยามักการ: ใช้เพื่อควบกล้ำเสียงพยัญชนะ
  2. เครื่องหมายกำกับวรรคตอน ได้แก่
    1. ไปยาลน้อย: ใช้ย่อคำ
    2. ไปยาลใหญ่: ใช้ละข้อความ
    3. ฟองมัน: ใช้ขึ้นต้นข้อความ
    4. อังคั่นเดี่ยว (ขั้นเดี่ยว): ใช้เขียนเมื่อจบประโยค หรือเป็นเครื่องหมายบอกวันเดือนทางจันทรคติ
    5. อังคั่นคู่ (ขั้นคู่): ใช้เขียนเมื่อจบข้อความใหญ่ หรือจบตอน
    6. อังคั่นวิสรรชนีย์: ใช้เขียนเมื่อจบเรื่อง
    7. โคมูตร: ใช้เมื่อสิ้นสุดข้อความ หรือบทกลอน
    8. มหัพภาค: ใช้ย่อคำ
    9. เสมอภาค: ใช้สำหรับตัวเลขที่เท่ากัน

หรือแบ่งเป็น 2 กลุ่มตามเกณฑ์ที่มา

    1. เครื่องหมายวรรคตอนที่เป็นของไทยแต่เดิม ได้แก่ ตาไก่ โคมูตร เป็นต้น
    2. เครื่องหมายวรรคตอนที่รับอิทธิพลการเขียนจากต่างประเทศ เช่น จุลภาค มหัพภาค เป็นต้น
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
เครื่องหมายวรรคตอน
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?