For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for อาเรบีตซา.

อาเรบีตซา

อาเรบีตซา
ชนิดอักษรอาหรับ-เปอร์เซีย
ช่วงยุค
คริสต์ศตวรรษที่ 15–20
ภาษาพูดภาษาบอสเนีย
หนังสือเขียน Bosnian Book of the Science of Conduct ที่ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1831 โดยAbdulvehab Ilhamija ผู้เขียนและกวีชาวบอสเนีย เขียนด้วยอักษรอาเรบีตซา

อาเรบีตซา (บอสเนีย: arebica, آرەبـٖٮڄآ, ออกเสียง: [arebit͡sa] ) หรือ อาราบีตซา (arabica) เป็นอักษรอาหรับรูปแบบหนึ่งที่ใช้เขียนภาษาบอสเนีย (بۉسانسقٖى يەزٖٮق)[1] เคยใช้เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 15-19 (พุทธศตวรรษที่ 20-24) เป็นความพยายามของมุสลิมที่จะพัฒนาอักษรอาหรับมาใช้เขียนภาษาบอสเนียนอกเหนือจากอักษรละตินและอักษรซีริลลิกสำหรับภาษาเซอร์เบีย หนังสือที่พิมพ์ด้วยอักษรนี้ตีพิมพ์ครั้งสุดท้ายเมื่อ ค.ศ. 1941 (พ.ศ. 2484) อักษรนี้ใช้ในทางศาสนาและการบริหาร แต่ใช้น้อยกว่าอักษรอื่น ๆ

ต้นกำเนิด

[แก้]

อักษรอาเรบีตซามีพื้นฐานมาจากตัวเขียนเปอร์เซีย-อาหรับที่เคยใช้ในจักรวรรดิออตโตมัน โดยเพิ่มอักษรสำหรับเสียง t͡s, ʎ และ ɲ ซึ่งไม่มีในภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย หรือภาษาตุรกีออตโตมัน ในที่สุดก็มีการประดิษฐ์ตัวอักษรแทนเสียงสระได้ทุกเสียง อาเรบีตซาจึงจัดเป็นระบบสระ-พยัญชนะโดยแท้จริง ไม่ใช่อักษรไร้สระ

รูปแบบล่าสุดของอักษรอาเรบีตซาออกแบบโดย Mehmed Džemaludin Čaušević เมื่อราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ต้นพุทธศตวรรษที่ 25) เรียกว่าแบบมาทูฟอวีตซา (Matufovica), มาทูฟอวาตชา (Matufovača) หรือเมกเทบีตซา (Mektebica)

พยัญชนะ

[แก้]

รูปแบบสุดท้ายของอักษรอาเรบีตซาประดิษฐ์ขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดย Mehmed Džemaludin Čaušević.

อักษรละติน อักษรซีริลลิก อาเรบีตซา
รูปเชื่อม รูปเดี่ยว
ท้าย กลาง หน้า
A a А а ـآ آ
B b Б б ـب ـبـ بـ ب
C c Ц ц ـڄ ـڄـ ڄـ ڄ
Č č Ч ч ـچ ـچـ چـ چ [b]
Ć ć Ћ ћ
D d Д д ـد د
Dž dž Џ џ ـج ـجـ جـ ج [c]
Đ đ Ђ ђ
E e Е е ـە ە
F f Ф ф ـف ـفـ فـ ف
G g Г г ـغ ـغـ غـ غ
H h Х х ـح ـحـ حـ ح
I i И и ـاٖى
ـٖى
ـاٖٮـ
ـٖٮـ
اٖٮـ اٖى [a]
J j Ј ј ـي ـيـ يـ ي
K k К к ـق ـقـ قـ ق
L l Л л ـل ـلـ لـ ل
Lj lj Љ љ ـڵ ـڵـ ڵـ ڵ
M m М м ـم ـمـ مـ م
N n Н н ـن ـنـ نـ ن
Nj nj Њ њ ـںٛ ـٮٛـ ٮٛـ ںٛ [b]
O o О о ـۉ ۉ
P p П п ـپ ـپـ پـ پ
R r Р р ـر ر
S s С с ـس ـسـ سـ س
Š š Ш ш ـش ـشـ شـ ش
T t Т т ـت ـتـ تـ ت
U u У у ـۆ ۆ
V v В в ـو و
Z z З з ـز ز
Ž ž Ж ж ـژ ژ

หมายเหตุ

  • ^a เครื่องหมายเสริมสัทอักษรใต้ ا ปรากฏบนตัวอักษรก่อนหน้า ى
  • ^b Mustafić ใช้ ڃ กับ ݩ แทน กับ สำหรับอักษร Ć ć/Ћ ћ และ Nj nj/Њ њ
  • ^c Mustafić ใช้ ݗ ส่วน Al-Zubi กับ Čičak-Al-Zubi ใช้ ڠ สำหรับอักษร Đ đ/Ђ ђ

ตัวแฝด

[แก้]

เหมือนกับภาษาอาหรับมาตรฐาน เมื่อ ا เชื่อมด้วย ل หรือ ڵ จะใช้ตัวแฝดแทน

อักษรละติน อักษรซีริลลิก อาเรบีตซา
รูปเชื่อม รูปเดี่ยว
ท้าย กลาง หน้า
la ла ـلا لا
lja ља ـڵا ڵا

ตัวอย่าง

[แก้]
บอสเนีย (อาเรบีตซา): سوا ڵۆدسقا بیچا راجايۆ سە سلۉبۉدنا ای يەدناقا ۆ دۉستۉيانستوۆ ای پراویما. ۉنا سۆ ۉبدارەنا رازۆمۉم ای سویيەشڃۆ ای ترەبا دا يەدنۉ پرەما درۆغۉمە پۉستۆپايۆ ۆ دۆحۆ براتستوا.
บอสเนีย (อักษรละติน): Sva ljudska bića rađaju se slobodna i jednaka u dostojanstvu i pravima. Ona su obdarena razumom i sviješću i treba da jedno prema drugome postupaju u duhu bratstva.
บอสเนีย (อักษรซีริลลิก): Сва људска бића рађају се слободна и једнака у достојанству и правима. Она су обдарена разумом и свијешћу и треба да једно према другоме поступају у духу братства.
ไทย: มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรี และสิทธิ ต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ
บอสเนีย (อาเรบีตซา): تەهەران يە غلاونی ای نايوەڃی غراد ایرانا، سيەدیشتە تەهەرانسقە پۉقرايینە ای يەدان ۉد نايوەڃیح غرادۉوا سویيەتا.
บอสเนีย (อักษรละติน): Teheran je glavni i najveći grad Irana, sjedište Teheranske pokrajine i jedan od najvećih gradova svijeta.
บอสเนีย (อักษรซีริลลิก): Техеран је главни и највећи град Ирана, сједиште Техеранске покрајине и један од највећих градова свијета.
ไทย: เตหะรานเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอิหร่าน ซึ่งเป็นเมืองหลักของจังหวัดเตหะรานและเป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก

อ้างอิง

[แก้]
  1. Hindi (2005). Keith Brown (บ.ก.). Encyclopedia of Language and Linguistics (2 ed.). Elsevier. ISBN 0-08-044299-4.
  • Enciklopedija leksikografskog zavoda, entry: Arabica. Jugoslavenski leksikografski zavod, Zagreb, 1966

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
อาเรบีตซา
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?