For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี (ธงชัย ธมฺมธโช).

สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี (ธงชัย ธมฺมธโช)

สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี

(ธงชัย ธมฺมธโช)
คำนำหน้าชื่อท่านเจ้าประคุณ
ชื่ออื่นเจ้าประคุณ สมเด็จธงชัย
ส่วนบุคคล
เกิด21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 (71 ปี)
นิกายมหานิกาย
การศึกษานักธรรมชั้นเอก
เปรียญธรรม 6 ประโยค
ตำแหน่งชั้นสูง
ที่อยู่วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร กรุงเทพมหานคร
บรรพชา8 ธันวาคม พ.ศ. 2510
อุปสมบท19 เมษายน พ.ศ. 2517
พรรษา50
ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ประธานมูลนิธิร่มฉัตร กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนกลาง

สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี นามเดิม ธงชัย ฉายา ธมฺมธโช เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งทางพระสังฆาธิการเป็น เจ้าคณะใหญ่หนกลาง[1] กรรมการมหาเถรสมาคม[2] ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ประธานมูลนิธิร่มฉัตร ประธานมูลนิธิอี๋ ไต้ อี๋ ลู่ และประธานสถาบันขงจื่อเส้นทางสายไหมทางทะเล

ประวัติ

[แก้]

สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี มีนามเดิมว่า ธงชัย เอี่ยมสอาด เกิดเมื่อวันวันเสาร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 ภูมิลำเนาอยู่บ้านแหลมแค ตำบลหน้าประดู่ อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี[3]

ต่อมาได้บวชบรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันศุกร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ณ พระอุโบสถวัดไตรมิตรวิทยาราม โดยมีพระธรรมมหาวีรานุวัตร (ไสว ฐิตวีโร) เจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ และอุปสมบทเป็นภิกษุเมื่อวันศุกร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2517 ณ พระอุโบสถวัดไตรมิตรวิทยาราม โดยมีพระวิสุทธาธิบดี (ไสว ฐิตวีโร) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสุวรรณธีราจารย์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระสุนทรคุณธาดาเป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้ฉายาว่า ธมฺมธโช[3]

การศึกษา/วิทยฐานะ

[แก้]

การปกครองบริหารกิจการคณะสงฆ์

[แก้]

รางวัล

[แก้]
  • รางวัลผู้นำที่มีผลงานด้านการศึกษาโดดเด่นเป็นพิเศษ (The Best of the Best) จากสำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
  • พ.ศ. 2539 ได้รับปริญญาตรีกิตติมศักดิ์ ครุศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สภาสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา
  • พ.ศ. 2552 ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขานวัตกรรมการบริหารจัดการศึกษา สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • พ.ศ. 2552 ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ ศิลปศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ภาษาจีน) สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • พ.ศ. 2553 รับมอบเข็ม “เสมาคุณูปการ” และเกียรติบัตรผู้ทำคุณประโยชน์แก่กระทรวงศึกษาธิการ
  • รางวัลผู้บริหารและสนับสนุนสถานศึกษาภาษาจีน ระดับมัธยมศึกษาดีเด่นของโลก ประจำปี พ.ศ. 2554
  • พ.ศ. 2554 ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารการศึกษา สภามหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • พ.ศ. 2555 ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพุทธบริหารการศึกษา สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พ.ศ. 2558 ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ ศิลปศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศึกษาศาสตร์ สภามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • พ.ศ. 2558 ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ ศิษย์เก่าดีเด่นด้านการสร้างคุณประโยชน์แก่สังคมและเป็นบุคคลที่สร้างชื่อเสียงให้กับสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • พ.ศ. 2559 ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • พ.ศ. 2560 Certificate of Appreciation for his invaluable service as Commentcement Speaker During the College Graduation Program of the College of Teacher Education From University of Northern Phillippines
  • พ.ศ. 2560 ประกาศเกียรติคุณ ผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่กระทรวงศึกษาธิการ
  • พ.ศ. 2562 ปริญญาศิลปศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม
  • พ.ศ. 2562 ปริญญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
  • พ.ศ. 2562 ปริญญาศิลปศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • พ.ศ. 2562 โล่รางวัล สถาบันขงจื้อดีเด่นประจำปี ในการประชุม การศึกษาภาษาจีนนานาชาติ 2019 ณ เมืองฉางชา สาธารณรัฐประชาชนจีน
  • พ.ศ. 2563 ปริญญาการจัดการดุษฎีบันฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • พ.ศ. 2563 ปริญญาปรัชญาดุษฎีบันฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมและอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
  • พ.ศ. 2565 ปริญญาปรัชญาดุษฎีบันฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • พ.ศ. 2566 ปริญญาปรัชญาดุษฎีบันฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สมณศักดิ์

[แก้]
  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ที่ พระพรหมมังคลาจารย์ ภาวนากิจวิธานโกศล วิมลศีลาจารนิวิฐ พิพิธธรรมปฏิภาณ ไพศาลวิเทศสิกขาวราทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[13]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สมเด็จธงชัย วัดไตรมิตร รับพระบัญชา เจ้าคณะใหญ่หนกลาง". 2020-10-31.
  2. "เปิดโครงสร้าง ใครเป็นใครใน "กรรมการมหาเถรสมาคม" ชุดปัจจุบัน ปกครองสงฆ์ไทย". คมชัดลึกออนไลน์. 2021-11-30.
  3. 3.0 3.1 "ทำเนียบพระเถรานุเถระ : พระพรหมมังคลาจารย์". วัดไตรมิตรวิทยาราม วรวิหาร. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-09-06. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2559. ((cite web)): ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "เลื่อนสมณศักดิ์สงฆ์ 73 รูป เนื่องในวโรกาส 12 สิงหา". mgronline.com. 2004-08-10.
  5. "ตั้ง "สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี" เป็น "เจ้าคณะใหญ่หนกลาง"". www.thairath.co.th. 2020-10-12.
  6. "แต่งตั้ง'สมเด็จธงชัย' เป็นเจ้าคณะใหญ่หนกลาง". dailynews. 2020-10-18.
  7. "โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งกรรมการมหาเถรสมาคมใหม่ จำนวน 20 รูป หลังครบวาระ". Thai PBS.
  8. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์ เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม 108, ตอนที่ 213 ง ฉบับพิเศษ, 6 ธันวาคม 2534, หน้า 7
  9. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม 109, ตอนที่ 101 ง ฉบับพิเศษ, 12 สิงหาคม 2535, หน้า 10
  10. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม 112, ตอนพิเศษ 47 ง, 13 ธันวาคม 2538, หน้า 6
  11. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์ เก็บถาวร 2015-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม 121, ตอนที่ 17 ข, 15 กันยายน 2547, หน้า 4
  12. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์ เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม 129, ตอนที่ 6 ข, 15 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 1
  13. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ , เล่ม 131, ตอนที่ 2 ข, 21 มกราคม 2557, หน้า 3-5
  14. ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์, เล่ม 136, ตอนที่ 40 ข, 28 กรกฎาคม 2562, หน้า 2
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี (ธงชัย ธมฺมธโช)
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?