For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ.

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

บทความนี้อาศัยการอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิมากเกินไป กรุณาปรับปรุงนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลทุติยภูมิหรือตติยภูมิ (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง20 กันยายน พ.ศ. 2526
สำนักงานใหญ่113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
บุคลากรนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ 472 คน [1]
เจ้าหน้าที่ 78 คน [1]
ผู้บริหาร 20 คน [1]
งบประมาณต่อปี772.68 ล้านบาท [1]
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน
  • วรรณพ วิเศษสงวน, ผู้อำนวยการ
  • เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ, รองผู้อำนวยการ
  • นตพร จันทร์วราสุทธิ์, รองผู้อำนวยการ
  • ธีรยุทธ ตู้จินดา, รักษาการรองผู้อำนวยการ
  • จุฑามาส อุดมสรยุทธ, รักษาการรองผู้อำนวยการ
เอกสารหลัก
เว็บไซต์www.biotec.or.th

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (อังกฤษ: National Center for Genetic Engineering and Biotechnology) หรือ ไบโอเทค เป็นศูนย์วิจัยด้านพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพในสังกัด สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มีพันธกิจหลักในการสนับสนุนและส่งเสริมการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม, การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีชีวภาพ, การถ่ายทอดเทคโนโลยี, และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีชีวภาพ[2]

ไบโอเทคจัดตั้งครั้งแรกตามมติคณะรัฐมนตรี ภายใต้ระบบราชการในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2526 เพื่อเป็นหน่วยงานสนับสนุนทุนวิจัยในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพแก่หน่วยงานในภาครัฐ โดยเฉพาะในสถาบันอุดมศึกษา และต่อมาได้เริ่มสนับสนุนการจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการ และอุดหนุนการวิจัยขั้นปริญญาโท-เอก. ในปี พ.ศ. 2537 ได้เริ่มดำเนินการวิจัยเองในศูนย์ และในปี พ.ศ. 2538 ได้เปลี่ยนรูปแบบการสนับสนุน จากการสนับสนุนหน่วยงานอื่นในการจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการของตน มาเป็นการไปจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการของศูนย์ ณ สถาบันเครือข่ายแทน[3]

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ มี ดร.วรรณพ วิเศษสงวน เป็นผู้อำนวยการ[4]

ผลงาน

[แก้]

ในปี พ.ศ. 2555 ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สามารถตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับนานาชาติได้ 216 รายการ และ 29 ถูกตีพิมพ์ในวารสารที่มีปัจจัยกระทบเกิน 4 และมีสิทธิบัตร 16 รายการ[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "BIOTEC ANNAL REPORT 2012" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-10-01. สืบค้นเมื่อ 2013-04-17.
  2. นโยบายศูนย์ไบโอเทค เก็บถาวร 2007-05-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, เรียกดู 26 มิถุนายน พ.ศ. 2550
  3. ความเป็นมา เก็บถาวร 2007-06-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, เรียกดู 26 มิถุนายน พ.ศ. 2550
  4. "ผู้บริหาร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-05-07. สืบค้นเมื่อ 2018-04-26.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?