For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for วิกฤตการณ์รัฐธรรมนูญรัสเซีย พ.ศ. 2536.

วิกฤตการณ์รัฐธรรมนูญรัสเซีย พ.ศ. 2536

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (กันยายน 2566) (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)
วิกฤตการณ์รัฐธรรมนูญรัสเซีย พ.ศ. 2536

สภาพความเสียหายของอาคารทำเนียบขาว หลังจากถูกรถถัง​ระดมยิง
วันที่21 กันยายน – 4 ตุลาคม 2536
สถานที่
ผล

เยลต์ซินและรัฐบาลบริหารชนะ

  • มีการกำหนดการปกครองด้วยกฤษฎีกาของประธานาธิบดี
  • ยุบสภาโซเวียตสูงสุด สภาประชาชน สภาโซเวียตภูมิภาคและท้องถิ่น
  • มีการจัดการเลือกตั้งรัฐสภาและลงประชามติรัฐธรรมนูญในปีเดียวกัน
คู่สงคราม
รัสเซียประธานาธิบดีรัสเซีย
กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงกลาโหม
รัสเซีย สภาโซเวียตสูงสุดรัสเซีย
รัสเซีย สภาประชาชนแห่งรัสเซีย
รัสเซีย รองประธานาธิบดีรัสเซีย
รัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียสหภาพโซเวียตรัสเซียผู้สนับสนุนสภาโซเวียตสูงสุดและอะเล็กซันดร์ รุตสคอย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
    • รัสเซีย บอริส เยลต์ซิน
    • รัสเซียอะเล็กซันดร์ คอร์ฮาคอฟ
    • รัสเซีย ปาเวล กราเชฟ
    • รัสเซียวิคตอร์ เยริน
    • รัสเซียอะนาโตลี คูลิคอฟ

วิกฤตการณ์รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2536 เป็นความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประธานาธิบดีรัสเซียและรัฐสภารัสเซียซึ่งระงับด้วยการใช้กำลังทหาร ความสัมพันธ์ระหว่างประธานาธิบดีและรัฐสภาเสื่อมลงเป็นเวลาหนึ่งแล้ว วิกฤตการณ์รัฐธรรมนูญดังกล่าวถึงจุดสูงสุดเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2536 เมื่อประธานาธิบดีบอริส เยลต์ซินมุ่งยุบสภานิติบัญญัติของประเทศรัสเซีย (คือ สภาประชาชนและสภาโซเวียตสูงสุด) แม้ประธานาธิบดีไม่มีอำนาจยุบรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ เยลต์ซินใช้ผลการลงประชามติเมื่อเดือนเมษายน 2536 เพื่อหนุนความชอบธรรมของตน รัฐสภาสนองโดยประกาศให้คำวินิจฉัยของประธานาธิบดีไม่มีผลและเป็นโมฆะ ฟ้องให้ขับเยลต์ซินจากตำแหน่ง และประกาศให้รองประธานาธิบดีอะเล็กซันดร์ รุตสคอยรักษาราชการในตำแหน่งประธานาธิบดี

สถานการณ์เลวร้ายลงเมื่อย่างเข้าเดือนตุลาคม วันที่ 3 ตุลาคม ผู้เดินขบวนนำแถวตำรวจรอบรัฐสภาออก และยึดสำนักงานนายกเทศมนตรีและพยายามล้อมศูนย์โทรทัศน์ออสตันคีโนด้วยการกระตุ้นจากแกนนำ กองทัพ ซึ่งทีแรกประกาศตนเป็นกลาง ปฏิบัติตามคำสั่งของเยลต์ซินล้อมอาคารสภาโซเวียตสูงสุดในเช้าวันที่ 4 ตุลาคมและจับกุมผู้นำการต่อต้าน

ความขัดแย้งนานสิบวันนี้กลายเป็นเหตุการณ์การต่อสู้บนท้องถนนเดี่ยวครั้งนองเลือดที่สุดในประวัติศาสตร์กรุงมอสโกนับแต่การปฏิวัติรัสเซีย พ.ศ. 2460 ตามการประเมินของรัฐบาล มีผู้เสียชีวิต 187 คน และได้รับบาดเจ็บ 437 คน ส่วนการประเมินจากแหล่งนอกภาครัฐกำหนดยอดผู้เสียชีวิตไว้สูงถึง 2,000 คน

{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
วิกฤตการณ์รัฐธรรมนูญรัสเซีย พ.ศ. 2536
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?