For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for วลาดีวอสตอค.

วลาดีวอสตอค

วลาดีวอสตอค

Владивосток
City[1]
ธงของวลาดีวอสตอค
ธง
ตราราชการของวลาดีวอสตอค
ตราอาร์ม
ที่ตั้งของวลาดีวอสตอค
แผนที่
วลาดีวอสตอคตั้งอยู่ในรัสเซีย
วลาดีวอสตอค
วลาดีวอสตอค
ที่ตั้งของวลาดีวอสตอค
วลาดีวอสตอคตั้งอยู่ในดินแดนปรีมอร์สกี
วลาดีวอสตอค
วลาดีวอสตอค
วลาดีวอสตอค (ดินแดนปรีมอร์สกี)
พิกัด: 43°6′54″N 131°53′7″E / 43.11500°N 131.88528°E / 43.11500; 131.88528
ประเทศรัสเซีย
หน่วยองค์ประกอบดินแดนปรีมอร์เย[1]
สถาปนา2 กรกฎาคม ค.ศ. 1860[2]
จัดตั้งเป็นCity22 เมษายน ค.ศ. 1880
การปกครอง
 • องค์กรDuma
 • Headโอเลก กูเมนยุค[3]
พื้นที่[4]
 • ทั้งหมด331.16 ตร.กม. (127.86 ตร.ไมล์)
ความสูง8 เมตร (26 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโนครัวปี 2010)[5]
 • ทั้งหมด592,034 คน
 • ประมาณ 
(2018)[6]
604,901 (+2.2%) คน
 • อันดับที่22 ในปี 2010
 • ความหนาแน่น1,800 คน/ตร.กม. (4,600 คน/ตร.ไมล์)
สถานะการบริหาร
 • เขตย่อยของVladivostok City Under Krai Jurisdiction[1]
 • เมืองศูนย์กลางทางการบริหารของPrimorsky Krai, Vladivostok City Under Krai Jurisdiction[1]
สถานะเทศบาล
 • เขตเมืองVladivostoksky Urban Okrug[7]
 • เมืองศูนย์กลางทางการบริหารของVladivostoksky Urban Okrug[7]
รหัสไปรษณีย์[8]690xxx
รหัสโทรศัพท์+7 423
รหัส OKTMO05701000001
วันCityวันอาทิตย์แรกของเดือนกรกฎาคม
เว็บไซต์www.vlc.ru

วลาดีวอสตอค (รัสเซีย: Владивосток, อักษรโรมัน: Vladivostok, สัทอักษรสากล: [vlədʲɪvɐˈstok] ( ฟังเสียง), แปลตรงตัว: 'ผู้ปกครองแห่งตะวันออก') เป็นเมืองขนาดใหญ่ทางด้านทิศตะวันออกของประเทศรัสเซีย ริมอ่าวโกลเดนฮอร์น ไม่ไกลจากพรมแดนจีนและเกาหลีเหนือ ประชากรในปี ค.ศ. จำนวน 592,034 คน[5] ลดลงจากเมื่อปี ค.ศ. 2002 ที่มี 594,701 คน[9] เป็นเมืองท่าที่สำคัญ และเป็นจุดสิ้นสุดของทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย

ภูมิอากาศ

[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของวลาดีวอสตอค
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 5.0
(41)
9.9
(49.8)
15.2
(59.4)
22.7
(72.9)
29.5
(85.1)
31.8
(89.2)
33.6
(92.5)
33.0
(91.4)
30.0
(86)
23.4
(74.1)
17.5
(63.5)
9.4
(48.9)
33.6
(92.5)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) -8.1
(17.4)
-4.2
(24.4)
2.2
(36)
9.9
(49.8)
14.8
(58.6)
17.8
(64)
21.1
(70)
23.2
(73.8)
19.8
(67.6)
12.9
(55.2)
3.1
(37.6)
-5.1
(22.8)
9.0
(48.2)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) -12.3
(9.9)
-8.4
(16.9)
-1.9
(28.6)
5.1
(41.2)
9.8
(49.6)
13.6
(56.5)
17.6
(63.7)
19.8
(67.6)
16.0
(60.8)
8.9
(48)
-0.9
(30.4)
-9.1
(15.6)
4.9
(40.8)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) -15.4
(4.3)
-11.6
(11.1)
-4.9
(23.2)
2.0
(35.6)
6.7
(44.1)
11.1
(52)
15.6
(60.1)
17.7
(63.9)
13.1
(55.6)
5.9
(42.6)
-3.8
(25.2)
-11.9
(10.6)
2.0
(35.6)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) −31.4
(-24.5)
−28.9
(-20)
−22.0
(-8)
−8.1
(17.4)
−0.8
(30.6)
3.7
(38.7)
8.8
(47.8)
10.1
(50.2)
2.2
(36)
−9.7
(14.5)
−23.0
(-9)
−28.1
(-18.6)
−31.4
(−24.5)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 14
(0.55)
15
(0.59)
27
(1.06)
48
(1.89)
81
(3.19)
110
(4.33)
164
(6.46)
156
(6.14)
119
(4.69)
59
(2.32)
29
(1.14)
18
(0.71)
840
(33.07)
ความชื้นร้อยละ 58 57 60 67 76 87 92 87 77 65 60 60 71
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 0.3 0.3 4 13 20 22 22 19 14 12 5 1 133
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย 7 8 11 4 0.3 0 0 0 0 1 7 9 47
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 176.7 186.5 217.0 192.0 198.4 129.0 120.9 148.8 198.0 204.6 168.0 155.0 2,094.9
แหล่งที่มา 1: Pogoda.ru.net[10]
แหล่งที่มา 2: หอสังเกตการณ์ฮ่องกง (sun, 1961-1990)[11]

การคมนาคม

[แก้]
สถานีรถไฟวลาดีวอสตอค จุดสิ้นสุดทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย
ถนนสเว็ตลันสกายา ใจกลางเมืองวลาดีวอสตอค

วลาดีวอสตอค เป็นจุดเริ่มต้นทางหลวงแผ่นดินเหมายเลขเอ็ม 60 มุ่งหน้าสู่เมืองคาบารอฟสค์ จุดสิ้นสุดทางด้านทิศตะวันออกของทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ซึ่งมุ่งหน้าไปยังกรุงมอสโกและเซนต์ปีเตอส์เบิร์กได้ ส่วนทางหลวงแผ่นดินสายอื่น ๆ จะมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออกและทิศใต้

ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ถูกสร้างขึ้นเพื่อเชื่อมต่อระหว่างรัสเซียตะวันตกกับรัสเซียตะวันออก โดยสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1905 ผ่านเมืองสำคัญหลายแห่ง นอกจากนี้ยังมีทางรถไฟสายย่อย เช่น ทางรถไฟสายจีนตะวันออก ซึ่งผ่านเมืองฮาร์บิน

ท่าอากาศยานวลาดีวอสตอคให้บริการเที่ยวบินไปยังประเทศญี่ปุ่น ประเทศจีน ประเทศเกาหลีเหนือ ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเวียดนาม

ระบบขนส่งมวลชน

[แก้]

วันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1908 ได้มีการเปิดเดินรถรางสายแรก จากสถานีรถไฟวลาดีวอสตอค ไปตามถนนสเวตลันสกายา และในวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1912 รถยนต์ไม้คันแรก (ผลิตในเบลเยียม) ก็เปิดให้บริการ ระบบขนส่งมวลชนที่สำคัญในวลาดีวอสตอค ได้แก่ รถโดยสาร รถไฟ รถราง เรือเฟอรี

ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ

[แก้]

เมืองพี่น้อง

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Ref130
  2. Энциклопедия Города России. Moscow: Большая Российская Энциклопедия. 2003. p. 72. ISBN 5-7107-7399-9.
  3. "Обвиняемый во взятках мэр Владивостока подал в отставку".
  4. Генеральный план Владивостока[ลิงก์เสีย]. Расчёт потребности территории для определения границ населённых пунктов Владивостокского городского округа. Таблица 16.1
  5. 5.0 5.1 Russian Federal State Statistics Service (2011). "Всероссийская перепись населения 2010 года. Том 1" [2010 All-Russian Population Census, vol. 1]. Всероссийская перепись населения 2010 года (2010 All-Russia Population Census) (ภาษารัสเซีย). Federal State Statistics Service. สืบค้นเมื่อ June 29, 2012.
  6. "26. Численность постоянного населения Российской Федерации по муниципальным образованиям на 1 января 2018 года". สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2019.
  7. 7.0 7.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Ref862
  8. Почта России. Информационно-вычислительный центр ОАСУ РПО. (Russian Post). Поиск объектов почтовой связи (Postal Objects Search)
  9. Russian Federal State Statistics Service (May 21, 2004). "Численность населения России, субъектов Российской Федерации в составе федеральных округов, районов, городских поселений, сельских населённых пунктов – районных центров и сельских населённых пунктов с населением 3 тысячи и более человек" [Population of Russia, Its Federal Districts, Federal Subjects, Districts, Urban Localities, Rural Localities—Administrative Centers, and Rural Localities with Population of Over 3,000] (XLS). Всероссийская перепись населения 2002 года [All-Russia Population Census of 2002] (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ August 9, 2014.
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ pogoda
  11. "Climatological Information for Vladivostok, Russia". Hong Kong Observatory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-07. สืบค้นเมื่อ March 11, 2013.
  • แม่แบบ:RussiaAdmMunRef/pri/admlaw
  • แม่แบบ:RussiaAdmMunRef/pri/munlist/vladivostoksky
  • Faulstich, Edith. M. "The Siberian Sojourn" Yonkers, N.Y. (1972–1977)
  • Poznyak, Tatyana Z. 2004. Foreign Citizens in the Cities of the Russian Far East (the second half of the 19th and 20th centuries). Vladivostok: Dalnauka, 2004. 316 p. (ISBN 5-8044-0461-X).
  • Stephan, John. 1994. The Far East a History. Stanford: Stanford University Press, 1994. 481 p.
  • Trofimov, Vladimir et al., 1992, Old Vladivostok. Utro Rossii Vladivostok, ISBN 5-87080-004-8

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
วลาดีวอสตอค
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?