For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ภูตรับใช้.

ภูตรับใช้

ภาพประกอบภาษาอังกฤษในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ของหมอเวทมนตร์ขณะให้อาหารภูตรับใช้ของเธอ

ในคติชนวิทยาของยุโรปในสมัยกลางและสมัยใหม่ตอนต้น เชื่อกันว่าภูตรับใช้ (หรือชื่อเรียกอย่างแท้จริงคือวิญญาณภูตรับใช้ ในขณะที่ "familiar" ในภาษาอังกฤษยังหมายถึง "เพื่อนสนิท" หรือสหาย และอาจเห็นในชื่อวิทยาศาสตร์ของสุนัขคือ Canis familiaris) เชื่อกันว่าเป็นสิ่งเหนือธรรมชาติหรือผู้พิทักษ์จิตวิญญาณที่จะปกป้องหรือช่วยเหลือหมอเวทมนตร์และหมอเวทมนตร์ผู้รอบรู้ในทางไสยศาสตร์[1] ตามบันทึกของยุคดังกล่าว ผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าเคยติดต่อกับวิญญาณภูตรับใช้ได้รายงานว่าพวกมันสามารถปรากฏออกมาได้หลายรูปแบบ ซึ่งโดยปกติจะเป็นสัตว์ แต่บางครั้งก็เป็นรูปมนุษย์หรือรูปทรงคล้ายมนุษย์ และถูกอธิบายว่าเป็น "รูปแบบสามมิติที่ชัดเจน, มีสีสันชัดเจน, มีชีวิตชีวาด้วยการเคลื่อนไหวและเสียง" เมื่อเทียบกับคำอธิบายของผีที่มี "รูปแบบควันที่ไม่ชัดเจน"[2]

เมื่อพวกมันรับใช้หมอเวทมนตร์ พวกมันมักจะถูกคิดว่าเป็นภูตมุ่งร้าย แต่เมื่อทำงานให้แก่หมอเวทมนตร์ผู้รอบรู้ พวกมันมักจะถูกมองว่ามีเมตตา (แม้ว่าจะมีความคลุมเครือในทั้งสองกรณีก็ตาม) โดยแบบแรกมักถูกจัดว่าเป็นปิศาจ ในขณะที่แบบหลังมักถูกมองว่าเป็นภูต ส่วนจุดประสงค์หลักของภูตรับใช้คือการรับใช้หมอเวทมนตร์ โดยให้ความคุ้มครองพวกเขาเมื่อพวกเขาเข้ามามีอำนาจใหม่[3]

ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 ผู้ฝึกหัดเวทมนตร์บางคน รวมถึงสาวกลัทธินอกศาสนาใหม่แห่งนิกายวิคคา ใช้แนวคิดเรื่องภูตรับใช้ เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์รูปแบบเก่า ๆ โดยผู้ฝึกหัดร่วมสมัยเหล่านี้ใช้สัตว์เลี้ยงหรือสัตว์ป่า หรือเชื่อว่าภูตรับใช้ที่มองไม่เห็นทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยด้านเวทมนตร์[4]

อ้างอิง

[แก้]

การอ้างอิง

[แก้]
  1. Wilby 2005, pp. 59–61.
  2. Wilby 2005, p. 61.
  3. Wilby 2005, pp. 74–76.
  4. Chauran, Alexandra (2013). Animal Familiars for Beginners. Jupiter Gardens Press. ISBN 978-1938257667.

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Davies, Owen (2003). Cunning-Folk: Popular Magic in English History. London: Hambledon Continuum. ISBN 1-85285-297-6.
  • Maple, Eric (December 1960). "The Witches of Canewdon". Folklore. Vol. 71 no. 4.
  • Thomas, Keith (1973). Religion and the Decline of Magic: Studies in Popular Beliefs in Sixteenth and Seventeenth Century England. London: Penguin.
  • Wilby, Emma (2005). Cunning Folk and Familiar Spirits: Shamanistic Visionary Traditions in Early Modern British Witchcraft and Magic. Brighton: Sussex Academic Press. ISBN 1-84519-078-5.
  • Norton, Mary Beth (2002). In the Devil's Snare. New York: Vintage Books. ISBN 0375706909.
  • Murray, Margaret (1921). The Witch-Cult in Western Europe. London: Oxford University Press. ISBN 9781594623479.
  • Briggs, Robin (1996). Witches and Neighbors. New York: Penguin.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ภูตรับใช้
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?