For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ฟรานซิส เบคอน.

ฟรานซิส เบคอน

ฟรานซิส เบคอน
ภาพโดยPourbus the Younger, 1617
ไวส์เคานต์เซนต์อัลบัน
ประธานศาลสูงสุดแห่งอังกฤษ
ดำรงตำแหน่ง
7 มีนาคม ค.ศ. 1617 – 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1621 (1617-03-07 – 1621-05-03)
กษัตริย์พระเจ้าเจมส์ที่ 1
ก่อนหน้าเซอร์ โทมัส เอเกอร์ตัน
ถัดไปจอห์น วิลเลียมส์
อัยการสูงสุดแห่งอังกฤษและเวลส์
ดำรงตำแหน่ง
26 ตุลาคม ค.ศ. 1613 – 7 มีนาคม ค.ศ. 1617 (1613-10-26 – 1617-03-07)
กษัตริย์พระเจ้าเจมส์ที่ 1
ก่อนหน้าเซอร์ เฮนรี โฮบาร์ท
ถัดไปเซอร์ เฮนรี เยลเวอร์ตัน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด22 มกราคม ค.ศ. 1561(1561-01-22)
สแตรนด์, ลอนดอน, อังกฤษ
เสียชีวิต9 เมษายน ค.ศ. 1626(1626-04-09) (65 ปี)
ไฮเกต, มิดเดิลเซ็กซ์, อังกฤษ
บุพการี
  • เซอร์นิโคลาส เบคอน (บิดา)
  • เลดีแอนน์ เบคอน (มารดา)
ศิษย์เก่า
ผลงานสำคัญผลงานโดยฟรานซิส เบคอน
ลายมือชื่อ
ผลงานเด่นNovum Organum
ยุคปรัชญายุคสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา
ปรัชญาในศตวรรษที่ 17
แนวทางปรัชญาตะวันตก
สำนักประสบการณ์นิยม
ความสนใจหลัก
แนวคิดเด่น
รายการ
    • Baconian method
    • Idola fori
    • Idola theatri
    • Idola specus
    • Idola tribus
    • Salomon's House
ได้รับอิทธิพลจาก
เป็นอิทธิพลต่อ

ฟรานซิส เบคอน ไวส์เคานต์เซนต์อัลบันที่ 1 (อังกฤษ: Francis Bacon, 1st Viscount St. Alban) (22 มกราคม ค.ศ. 1561 – 9 เมษายน ค.ศ. 1626) เป็นนักปราชญ์ รัฐบุรุษ นักวิทยาศาสตร์ นักกฎหมาย และนักเขียนชาวอังกฤษ เป็นประธานศาลสูงสุดของอังกฤษ เบคอนเป็นที่รู้จักในฐานะผู้คิดค้นประสบการณ์นิยม (empiricism)[1]

มุมมองทางศาสนา

[แก้]

แม่แบบ:ไม่สารา แม้ว่าเบคอน จะมีความเป็นเลิศทางวิชาการอย่างมากล้นและตัวเขาเองก็เป็นประจักษ์นิยม แต่ทว่าสิ่งที่น่าตกใจคือ เบคอนเป็นคนที่เชื่อในการมีอยู่ของพระเจ้า และไม่คิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นการลบล้างพระเจ้า โดยประโยคสุดโด่งดังของเขาที่เขาได้ระบุไว้ในงานของเขา The Essayes Or Covnsels, Civill and Morall, of Francis Lo. Vervlam, Viscovnt St. Alban (1625) ก็คือ “ความรู้วิทยาศาสตร์อันน้อยนิดโน้มน้าวจิตใจของมนุษย์ไปสู่ลัทธิอเทวนิยม แต่ความรู้วิทยาศาสตร์ที่ลึกซึ้งจะนำจิตใจของมนุษย์มาสู่ศาสนา”[2]

ทัศนะที่มีน้ำหนักจากนักวิชาการที่ได้ศึกษางานของเบคอนอย่างละเอียด อย่าง สตีเฟน แม็คไนท์ (Stephen A. McKnight) ในหนังสือของเขา The Religious Foundation of Francis Bacon’s Thought (2006) ให้เหตุผลว่าเบคอนถือความเชื่อทางศาสนาอย่างแท้จริง แม็คไนท์ใช้ "การวิเคราะห์ข้อความอย่างใกล้ชิด" ของงานแปดชิ้นของเบคอนเพื่อแสดงให้เห็นว่า "วิสัยทัศน์ของเบคอนในการปฏิรูปหรือ 'การสร้างโครงสร้าง' นั้นดึงมาจากพระคัมภีร์ของยิว-คริสเตียนและยิ่งไปกว่านั้น งานของเขาไม่ได้เป็นปฏิเสธศาสนาคริสต์หรือศาสนาใด ความเชื่อเหล่านั้นยังเป็นรากฐานที่สำคัญของโครงการทั้งหมดของเขาอีกด้วย

แม็คไนท์ โต้แย้งว่างานเขียนของเบคอนมีจุดมุ่งหมายที่จะเปิดเผย "ความเข้าใจพระคัมภีร์ในระดับที่แท้จริงและลึกซึ้งยิ่งขึ้นและการช่วยชีวิตของพระเจ้าในประวัติศาสตร์"[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-08. สืบค้นเมื่อ 2012-10-08.
  2. Bacon, Francis (1625). The Essayes Or Covnsels, Civill and Morall, of Francis Lo. Vervlam, Viscovnt St. Alban. London. p. 90.
  3. Stephen McKnight. The ReligiousFoundations of Francis Bacon’s Thought. (Columbia: University of Missouri Press, 2006) p.3
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ฟรานซิส เบคอน
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?