For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก่

"บิกโฟร์": (จากซ้ายไปขวา) เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส) และ วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ) ในแวร์ซาย
ประมุขหลักฝ่ายสัมพันธมิตร: สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร, แรมง ปวงกาเร แห่งฝรั่งเศส, จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย, พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี, สมเด็จพระจักรพรรดิโยชิฮิโตะ แห่งญี่ปุ่น และ วูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐ
แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีน้ำเงินคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง
ผู้นำหลักฝ่ายสัมพันธมิตร: เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ), ฮาระ ทากาชิ (ญี่ปุ่น) และนิโคไล โกลิตสิน (รัสเซีย)

รัสเซีย จักรวรรดิรัสเซีย

[แก้]
สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (ขวา) และจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย (ซ้าย) ในปี ค.ศ. 1913[1]
  • จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 – จักรพรรดิแห่งรัสเซีย พระมหากษัตริย์โปแลนด์ และแกรนด์ดยุกแห่งฟินแลนด์
  • ไอวาน กเรไมีกิน – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (1 สิงหาคม 1914 – 2 กุมภาพันธ์ 1916)
  • บอริส สเตอร์เมอร์ – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (2 กุมภาพันธ์1916 – 23 พฤศจิกายน 1916)
  • Alexander Trepov – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (23 พฤศจิกายน 1916 – 27 ธันวาคม 1916)
  • นิโคไล โกลิตสิน – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (27 ธันวาคม 1916 – 9 มกราคม 1917)
  • แกรนด์ดยุกนิโคลัส นีโคลาเยวิช – ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของรัสเซีย

สหราชอาณาจักร จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ

[แก้]

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

[แก้]
เดวิด ลอยด์ จอร์จ, นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

ออสเตรเลีย เครือรัฐออสเตรเลีย

[แก้]
  • โจเซฟ คุก – นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย (จนกระทั่ง 17 กันยายน 1914)
  • แอนดรูว์ ฟิชเชอร์ – นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย (17 กันยายน 1914 – 27 ตุลาคม 1915)
  • บิลลี ฮิวจ์ส – นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย (ตั้งแต่ 27 ตุลาคม 1915)
  • Ronald Munro Ferguson – ผู้สำเร็จราชการออสเตรเลีย

แคนาดา แคนาดา

[แก้]
โรเบิร์ต บอร์เดน, นายกรัฐมนตรีแคนาดา

บริติชราช บริติชอินเดีย

[แก้]
  • Charles Hardinge – อุปราชแห่งอินเดีย (1910–1916)
  • Frederic Thesiger – อุปราชแห่งอินเดีย (1916–1921)

สหภาพแอฟริกาใต้ สหภาพแอฟริกาใต้

[แก้]
  • หลุยส์ โบธา – นายกรัฐมนตรีแอฟริกาใต้
  • The Earl of Buxton – ผู้สำเร็จราชการแอฟริกาใต้

นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์

[แก้]
  • วิลเลียม แมสซีย์ – นายกรัฐมนตรีนิวซีแลนด์
  • The Earl of Liverpool – ผู้สำเร็จราชการนิวซีแลนด์

นิวฟันด์แลนด์

[แก้]
  • Sir Edward Morris – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1909–1917)
  • Sir John Crosbie – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1917–1918)
  • Sir William Lloyd – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1918–1919)

ฝรั่งเศส สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

[แก้]
ฌอร์ฌ เกลม็องโซ, นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส
  • แรมง ปวงกาเร – ประธานาธิบดีฝรั่งเศส
  • René Viviani – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (13 มิถุนายน 1914 - 29 ตุลาคม 1915)
  • Aristide Briand – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (29 ตุลาคม 1915 - 20 มีนาคม 1917)
  • Alexandre Ribot – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (20 มีนาคม 1917 - 12 กันยายน 1917)
  • Paul Painlevé – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (12 กันยายน 1917 - 16 พฤศจิกายน 1917)
  • ฌอร์ฌ เกลม็องโซ – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 1917)
  • โฌแซ็ฟ ฌ็อฟร์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง 13 ธันวาคม 1916)
  • โรเบิร์ต นีเวลล์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง เมษายน 1917)
  • ฟีลิป เปแต็ง – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (ตั้งแต่ เมษายน 1917)

ราชอาณาจักรอิตาลี ราชอาณาจักรอิตาลี

[แก้]
พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี
  • พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 – พระมหากษัตริย์อิตาลี
  • Antonio Salandra – นายกรัฐมนตรีอิตาลี (จนกระทั่ง 18 มิถุนายน 1916)
  • เปาโล โบเซลลี – นายกรัฐมนตรีอิตาลี (จนกระทั่ง 29 ตุลาคม 1917)
  • วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด – นายกรัฐมนตรีอิตาลี (ตั้งแต่ 29 ตุลาคม 1917)
  • ลุยจิ คาดอร์นา – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี
  • อาร์มันโด้ ดิแอซ – ผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี
  • Luigi, Duke of Abruzzi – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองเรือเอเดรียติกอิตาลี
  • เปาโล เทออน ดิ เรเวล – พลเรือเอกของกองทัพเรือราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย ราชอาณาจักรเซอร์เบีย

[แก้]
  • สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 – พระมหากษัตริย์เซอร์เบีย
  • นิโคลา ปาซิช – นายกรัฐมนตรีเซอร์เบีย
  • ราโดเมียร์ ปุตนิก – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกเซอร์เบีย

จักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิญี่ปุ่น

[แก้]
โอกูมะ ชิเงโนบุ, นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนที่ 5
  • สมเด็จพระจักรพรรดิโยชิฮิโตะ – จักรพรรดิญี่ปุ่น
  • โอกูมะ ชิเงโนบุ – นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (จนกระทั่ง 9 ตุลาคม 1916)
  • เทราอูจิ มาซาตาเกะ – นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (จนกระทั่ง 29 กันยายน 1918)
  • ฮาระ ทากาชิ – นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (ตั้งแต่ 29 กันยายน 1918)
  • คาโต ซาดาคิจิ – ผู้บัญชาการของกองเรือที่ 2 สนับสนุนการรบในการล้อมชิงเต่า
  • โคโซ ซาโต – ผู้บัญชาการของกองเรือเฉพาะกิจลำดับที่ 2 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
  • คามิโอะ มิตสึโอมิ – ผู้บัญชาการของกองทัพสัมพันธมิตรที่ชิงเต่า

ราชอาณาจักรโรมาเนีย ราชอาณาจักรโรมาเนีย

[แก้]
  • เฟอร์ดินานด์ที่ 1 – พระมหากษัตริย์โรมาเนีย
  • อียอน อี. เช. เบรอตียานู – นายกรัฐมนตรีโรมาเนีย
  • อเล็กซานดรู อาเวเรสกู – ผู้บัญชาการของกองทัพบกที่ 2, กองทัพบกที่ 3 รวมถึงกลุ่มกองทัพบกทิศใต้ และ นายกรัฐมนตรีโรมาเนีย

สหรัฐ

[แก้]
วูดโรว์ วิลสัน, ประธานาธิบดีสหรัฐ
  • วูดโรว์ วิลสัน – ประธานาธิบดีสหรัฐ
  • โทมัส อาร์. มาร์แชลล์ – รองประธานาธิบดีสหรัฐ
  • นิวตัน ดี. เบเคอร์ – รัฐมนตรีว่าการทบวงการสงครามสหรัฐ
  • โจเซฟิอุส แดเนียลส์ – รัฐมนตรีว่าการทบวงทหารเรือสหรัฐ
  • ทาสเกอร์ เอช. บลิส – เสนาธิการทหารบกสหรัฐ
  • เพย์ตัน ซี. มาร์ช – เสนาธิการทหารบกสหรัฐ
  • จอห์น เจ. เพอร์ชิง – ผู้บัญชาการของกองกำลังรบนอกประเทศอเมริกัน
  • วิลเลียม ซิมส์ – ผู้บัญชาการของกองทัพเรือสหรัฐในน่านน้ำยุโรป
  • เมสัน แพทริก – ผู้บัญชาการของกองกำลังทางอากาศแห่งทหารบก
  • ฮันเตอร์ ลิกเก็ตต์ – ผู้บัญชาการของเหล่าทหารไอ และกองทัพบกสหรัฐที่ 1
  • โรเบิร์ต ลี บูลลาร์ด – ผู้บัญชาการของกองทัพบกสหรัฐที่ 2

โปรตุเกส สาธารณรัฐโปรตุเกสที่หนึ่ง

[แก้]
  • เบอร์นาร์ดิโน มาชาโด – ประธานาธิบดีโปรตุเกส (จนกระทั่ง 12 ธันวาคม 1917)
  • อฟอนโซ กอสตา – นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส (จนกระทั่ง 15 มีนาคม 1916; เป็นอีกครั้ง 25 เมษายน 1917 – 10 ธันวาคม 1917)
  • แอนโตนิโอ โคเซ เดอ อัลเมดา – นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส (15 มีนาคม 1916 – 25 เมษายน 1917)
  • Sidónio Pais – นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส (11 ธันวาคม 1917 – 9 พฤษภาคม 1918) และ ประธานาธิบดีโปรตุเกส (ตั้งแต่ 9 พฤษภาคม 1918)
  • ฟือร์นังดู ทามักนินี ดา อับเรอู – ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพรบนอกประเทศโปรตุเกส

ไทย ราชอาณาจักรสยาม

[แก้]
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร

[แก้]
  • พระเจ้านิกอลาที่ 1 – พระมหากษัตริย์มอนเตเนโกร
  • จันโก้ วูโคติช – นายกรัฐมนตรีมอนเตเนโกร
  • โบซิดาร์ ยานโควิช – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพมอนเตเนโกร
  • เปตาร์ เพซิช – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพมอนเตเนโกร

เบลเยียม ราชอาณาจักรเบลเยียม

[แก้]
สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1
  • สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 – พระมหากษัตริย์เบลเยียม
  • ชาร์ลส์ เดอ บรอควิลล์ – นายกรัฐมนตรีเบลเยียม
  • เฟลิกซ์ เวียเลอมันส์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกเบลเยียม

บราซิล สาธารณรัฐบราซิลที่ 1

[แก้]
  • เวเซเลา บราส – ประธานาธิบดีบราซิล
  • เออร์บาโน ซังตูช ดา กอสตา อาราโฮ – รองประธานาธิบดีบราซิล
  • เปดรู ฟรอนติน – ผู้บัญชาการของกองทัพเรือบราซิล
  • José Pessoa Cavalcanti de Albuquerque – ผู้บัญชาการของกองทัพบกบราซิลในฝรั่งเศส
  • Napoleão Felipe Aché – ผู้บัญชาการของกองกำลังทหารบราซิลในฝรั่งเศส
  • Nabuco Gouveia – ผู้บัญชาการของกองทหารแพทย์บราซิล

ราชอาณาจักรกรีซ ราชอาณาจักรกรีซ

[แก้]

ลักเซมเบิร์ก ราชรัฐลักเซมเบิร์ก

[แก้]

ไต้หวัน สาธารณรัฐจีน

[แก้]

ราชอาณาจักรฮิญาซ

[แก้]
  • ฮุสเซน บิน อาลี – พระมหากษัตริย์ฮิญาซ

เอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์

[แก้]

สาธารณรัฐอาร์มีเนียที่ 1

[แก้]
  • Hovhannes Kajaznuni – นายกรัฐมนตรีอาร์มีเนีย

สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่หนึ่ง สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 1

[แก้]
  • โตมาช มาซาริก – ประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกีย
  • มิลาน รัสติสลาฟ สเตฟานิค – ผู้บัญชาการของกองพลเชโกสโลวาเกีย

หมายเหตุ

[แก้]
  1. At George's wedding in 1893, The Times claimed that the crowd may have confused Nicholas with George, because their beards and dress made them look alike superficially (The Times (London) Friday, 7 July 1893, p.5). Their facial features were only different up close.

ดูเพิ่ม

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?