For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ.

ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ

ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ เป็นปรัชญาทางสังคมและเศรษฐกิจซึ่งเสนอให้เปลี่ยนอำนาจวินิจฉัยสั่งการจากผู้จัดการบริษัทและผู้ถือหุ้นบริษัทมาเป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียสาธารณะในวงกว้างซึ่งประกอบด้วยคนงาน ลูกค้า ผู้ผลิตวัตถุดิบ ย่านที่อยู่อาศัยและสาธารณะในวงกว้าง ไม่มีบทนิยามหรือแนวเข้าสู่การศึกษาเดียวที่ครอบคลุมประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ แต่ผู้สนับสนุนส่วนใหญ่อ้างว่าความสัมพันธ์ของทรัพย์สินสมัยใหม่ผลักภาระต้นทุน ทำให้ความกินอยู่ดีทั่วไปมีความสำคัญน้อยกว่ากำไรเอกชนและปฏิเสธองค์การทางการเมืองไม่ให้มีสิทธิ์มีเสียงในการตัดสินใจนโยบายเศรษฐกิจ[1] นอกเหนือจากข้อกังวลทางศีลธรรมเหล่นี้ ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจยังมีข้ออ้างในการปฏิบัติ เช่น ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจชดเชยช่องว่างอุปทานยังผลในตัวของทุนนิยม[2]

ผู้สนับสนุนประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจโดยทั่วไปให้เหตุผล่าวทุนนิยมสมัยใหม่ส่งผลให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจเป็นคาบ โดยทำให้เกิดการขาดอุปทานยังผลเพราะสังคมมีรายได้ไม่เพียงพอในการซื้อผลผลิตออกของทุนนิยม การผูกขาดของบริษัทซึ่งทรัพยากรสาธารณะตรงแบบทำให้เกิดความขาดแคลนจากฝีมือมนุษย์ ส่งผลให้เกิดความขาดสมดุลทางสังคมและเศรษฐกิจซึ่งจำกัดคนงานไม่ให้เข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจและลดอำนาจซื้อของผู้บริโภค[3] ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจนั้นมีการเสนอเป็นส่วนหนึ่งของอุดมการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจที่ใหญ่กว่า เป็นทฤษฎีเดี่ยว ๆ และเป็นแบบหนึ่งของวาระการปฏิรูป ตัวอย่างเช่น มีการเสนอเป็นวิธีหนึ่งในการได้มาซึ่งสิทธิทางเศรษฐกิจอย่างสมบูรณ์ รวมทั้งเปิดเส้นทางสู่สิทธิทางการเมืองอย่างสมบูรณ์[1] มีการเสนอทฤษฎีประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจแบบตลาดและแบบไม่ใช่ตลาด ในฐานะวาระการปฏิรูป ทฤษฎีที่สนับสนุนและตัวอย่างโลกจริงมีตั้งแต่การกระจายอำนาจและการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจให้แก่สหกรณ์แบบประชาธิปไตย การธนาคารสาธารณะ การค้าโดยชอบธรรมและการผลิตอาหารและเงินตราแบบขึ้นกับภูมิภาค

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Smith 2005.
  2. Harvey 2010, p. 107.
  3. George 1912.
บรรณานุกรม
  • George, Henry (1912) [1879]. Progress and Poverty: An Inquiry into the Cause of Industrial Depressions and of Increase of Want with Increase of Wealth: The Remedy. Garden City, NY: Doubleday, Page & Co. OCLC 338381.
  • Harvey, David (2010). The Enigma of Capital and the Crises of Capitalism. Oxford [England]; New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-975871-5.
  • Smith, J.W. (2007). Money: A Mirror Image of the Economy. the Institute for Economic Democracy Press. ISBN 978-1-933567-12-9.

บทอ่านเพิ่มเติม

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?