For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for นีชอบูร์.

นีชอบูร์

นีชอบูร์

نیشابور

เนย์ชอบูร์หรือนีชอพูร์
นคร
เนย์ชอบูร์[1]
จากบนลงล่างและซ้ายไปขวา: สุสานโอมาร์ คัยยาม, สถานีคาราวานชอฮ์แอบอซี, สุสานแอตทอร์แห่งนีชอพูร์, การค้นพบทางโบราณคดีที่นีชอบูร์, สวน Imamzadeh Mohammad Mahrouq และคัยยาม, โดมท้องฟ้าจำลองคัยยาม, คฤหาสน์ Amin Eslami, สุสานแคมอโลลโมลก์ และมัสยิดไม้แห่งนีชอบูร์
สมญา: 
สมัยซาเซเนียนและอุมัยยะฮ์: แอแบร์แชฮร์ (กลุ่มเมืองตอนบน), ดามัสกัสน้อย (โดยอิบน์ บะฏูเฏาะฮ์)[2]
นีชอบูร์ตั้งอยู่ในประเทศอิหร่าน
นีชอบูร์
นีชอบูร์
นีชอบูร์ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตกและเอเชียกลาง
นีชอบูร์
นีชอบูร์
พิกัด: 36°12′48″N 58°47′45″E / 36.21333°N 58.79583°E / 36.21333; 58.79583
ประเทศธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน
จังหวัดโฆรอซอเนแรแซวี
เทศมณฑลนีชอบูร์
อำเภอกลาง
ก่อตั้งคริสต์ศตวรรษที่ 3
เทศบาลนีชอบูร์ค.ศ. 1931
ผู้ก่อตั้งชาห์ซาปูร์ที่ 1
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีHassan Mirfani
 • ผู้ว่าการเทศมนตรีAliReza Ghamati
ความสูง1,250 เมตร (4,100 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน พ.ศ. 2559)
 • เขตเมือง264,375 [3] คน
เขตเวลาUTC+03:30 (เวลามาตรฐานอิหร่าน)
รหัสพื้นที่051
เว็บไซต์neyshabur.ir

นีชอบูร์ หรือ นีชอพูร์ (เปอร์เซีย: نیشابور; จากภาษาเปอร์เซียกลาง New-Shabuhr หมายถึง "เมืองใหม่ของซาปูร์", "ซาปูร์อันโสภณ",[4] หรือ "ซาปูร์ที่สร้างมาอย่างสมบูรณ์")[5] เป็นนครที่ใหญ่เป็นอันดับสองในจังหวัดโฆรอซอเนแรแซวี ซึ่งเคยเป็นเมืองหลวงฝั่งตะวันตกของเกรตเตอร์โฆรอซอน เมืองหลวงในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ของรางวงศ์ตอฮีริด เมืองหลวงเดิมของจักรวรรดิเซลจูก เมืองหลักของเทศมณฑลนีชอบูร์ และอดีตเมืองในเส้นทางสายไหม[6] นีชอบูร์ตั้งอยู่บนที่ราบอันอุดมสมบูรณ์ตรงตีนทิวเขาบีนอลูด ใน พ.ศ. 2559 นครนี้มีประชากรประมาณ 264,180 คนและเทศมณฑลมีประชากรประมาณ 448,125 คน นครนี้ตั้งอยู่ใกล้เหมืองแร่เทอร์ควอยซ์ที่มีแร่เทอร์ควอยซ์คุณภาพสูงที่สุดในโลก[7]ที่มีการขุดมาอย่างน้อยสองสหัสศวรรษ

เมืองก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 3 โดยพระเจ้าชอบูร์ที่ 1 ในฐานะเมืองข้าหลวงจักรวรรดิซาเซเนียน ต่อมาจึงเป็นเมืองหลวงของราชวงศ์ทอเฮรียอน และได้บูรณะใหม่ในสมัยอับดุลลฮ์ อิบน์ เฏาะฮิร ในปี ค.ศ. 830 และได้รับเลือกเป็นเมืองหลวงของราชวงศ์เซลจุค ปี ค.ศ. 1037 ในสมัยราชวงศ์อับบาซียะฮ์ถูกชาวมองโกลรุกราน เมืองได้พัฒนาจนกลายเป็นศูนย์กลางด้านวัฒนธรรม การค้า ความรู้ของโลกอิสลาม เป็นหนึ่งในสี่เมืองใหญ่ของโฆรอซอนใหญ่ (ร่วมกับเมืองเมิร์ฟ, เฮราต และบัลค์) หนึ่งในเมืองที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของสมัยกลาง ศูนย์กลางอำนาจของรัฐเคาะลีฟะฮ์ทางตะวันออก ที่อยู่อาศัยของคนหลากหลายเชื้อชาติและศาสนา และจุดหยุดพักของเส้นทางการค้าจากจีนและทรานซ็อกเซียนาไปยังอิรักและอียิปต์

การค้นพบทางโบราณคดีในนครหลายแห่งถูกเก็บและจัดแสดงต่อสาธารณชนที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันในนครนิวยอร์ก, พิพิธภัณฑ์บริติชในลอนดอน และพิพิธภัณฑ์นานาชาติอื่น ๆ[8][9][10]

เมืองพี่น้อง

[แก้]

นีชอบูร์เป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[11]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Municipality of Neyshabur". Municipality of Neyshabur.((cite web)): CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. The Cambridge History of Iran – Volume 1 – Page 68
  3. "Statistical Center of Iran > Home".
  4. Honigmann, E.; Bosworth, C.E.. "Nīs̲h̲āpūr." Encyclopaedia of Islam, Second Edition. Edited by: P. Bearman, Th. Bianquis, C.E. Bosworth, E. van Donzel, W.P. Heinrichs. Brill Online, 2013. Reference. 31 December 2013
  5. นีชอบูร์ สามารถพบได้ใน GEOnet Names Server ผ่าน ลิงก์นี้ ด้วยการเปิดไปยังกล่องค้นหาขั้นสูง แล้วพิมพ์ "-3076915" ในฟอร์ม "Unique Feature Id" และคลิกบน "Search Database"
  6. Sardar, Marika ((originally published October 2001, last revised July 2011)). "The Metropolitan Museum's Excavations at Nishapur". The Metropolitan Museum. ((cite web)): ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  7. "Turquoise Quality Factors". Gemological Institute of America (GIA).((cite web)): CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  8. Sardar, Author: Marika. "The Metropolitan Museum's Excavations at Nishapur | Essay | Heilbrunn Timeline of Art History | The Metropolitan Museum of Art". The Met's Heilbrunn Timeline of Art History (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-02-10. ((cite web)): |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  9. "Nishapur". The British Museum.((cite web)): CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  10. "Coppa con decorazione calligrafica". Museum of Eastern Art in Italy (ภาษาอิตาลี). 25 November 2015.((cite web)): CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  11. "Tomb of Kamal-ol-Molk". iranparadise.com. Iran Paradise. 2020-05-05. สืบค้นเมื่อ 2020-11-15.

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
นีชอบูร์
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?