For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ท่าเรือสถานีรถไฟ.

ท่าเรือสถานีรถไฟ

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)
ท่ารถไฟ
โป๊ะของท่าเรือรถไฟในปี 2561
ประเภทท่าเรือโดยสาร
ประเภทเรือเรือด่วน
โครงสร้างท่าสะพานเหล็กปรับระดับ
ที่ตั้งเขตบางกอกน้อย, กรุงเทพมหานคร
ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา
ชื่อทางการท่ารถไฟ
เจ้าของกรมเจ้าท่า
ผู้ดำเนินงาน • เรือด่วนเจ้าพระยา
ค่าโดยสารธงส้ม16 บาทตลอดสาย

ธงเหลือง 21 บาทตลอดสาย

ธงเขียวเหลือง 14-33 บาท
ข้อมูลเฉพาะ
รหัสท่า น11 (N11) 
โครงสร้างหลักโป๊ะลอยน้ำ
ความยาว12 เมตร
ความกว้าง6 เมตร
พิกัด13°45′34″N 100°29′15″E / 13.759308956487141°N 100.48743366639471°E / 13.759308956487141; 100.48743366639471
ท่ารถไฟตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร
ท่ารถไฟ
ท่ารถไฟ
ท่าเรือรถไฟในปี 2560

ท่ารถไฟ หรือ ท่าเรือสถานีรถไฟธนบุรี (อังกฤษ: Thonburi Railway Station Pier; รหัส: น11, N11) เป็นท่าเรือสำหรับ เรือด่วนเจ้าพระยา ซึ่งวิ่งระหว่างกรุงเทพ (วัดราชสิงห์ถัดจาก เอเชียทีค S3) และทางตอนเหนือสุดของจังหวัดนนทบุรี (ปากเกร็ด ; N33)

ที่ตั้ง

[แก้]

ท่าเรือนี้อยู่ตรงกลางระหว่างท่าเรือวังหลัง (N10) และท่าเรือพระปิ่นเกล้าฝั่งพระนคร (N12) ตั้งอยู่ด้านหน้าของโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ โดยตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ใกล้ปากคลองบางกอกน้อย ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกันกับที่เคยเป็นสถานีรถไฟบางกอกน้อย จึงเรียกว่า "ท่าเรือสถานีรถไฟ" หรือ "ท่ารถไฟ"

จากท่าเรือนี้มองข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาสามารถมองเห็นตึกโดมของคณะรัฐศาสตร์และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อย่างชัดเจน

ท่าเรือสถานีรถไฟถือเป็นท่าเรือบรรยากาศดีเหมาะแก่การเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและทางเดินเลียบแม่น้ำนอกจากนี้ยังมีร้านอาหารและคาเฟ่ มีสวนเฉลิมพระเกียรติ 72 ปีที่มี ศาลาทรงไทย ที่สวยงามและยังมีรถจักรไอน้ำมิกาโดะ DX50 โบราณหมายเลข 950 และพิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน

นอกจากการท่องเที่ยวทางน้ำแล้วทางเข้าของท่าเรือแห่งนี้ยังเป็นสถานีปลายทางของรถสองแถวที่วิ่งไปหลายที่ในเขตตลิ่งชัน เช่น ชุมชนวัดจำปา เขตตลิ่งชัน และตลาดน้ำคลองลัดมะยม

ในเดือนสิงหาคม 2561 กรมเจ้าท่าได้สั่งระงับการให้บริการท่าเรือสถานีรถไฟชั่วคราว เนื่องจากเสาหนึ่งของโป๊ะเสียหาย แต่ต่อมาได้มีการซ่อมแซมและเปิดให้บริการเป็นปกติ[1]

โครงสร้าง

[แก้]

ท่ารถไฟมีโครงสร้างแบบสะพานเหล็กปรับระดับ ขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 10 เมตร ประกอบกับโป๊ะเรือลอยน้ำ ความกว้าง 6 เมตร ความยาว 12 เมตร โดยได้รับการปรับปรุงเมื่อปี พ.ศ. 2554 และปี พ.ศ. 2563 โดยกรมเจ้าท่า[2]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ท่าเรือสถานีรถไฟ
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?