For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ชวาหะร์ลาล เนห์รู.

ชวาหะร์ลาล เนห์รู

ชวาหะร์ลาล เนห์รู
ประธานมนตรีอินเดีย คนที่ 1
ดำรงตำแหน่ง
15 สิงหาคม 1947 – 27 พฤษภาคม 1964
ประธานาธิบดีราเชนทร์ ปรสาท
สรวปัลลี ราธากฤษณัน
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หลุยส์ เมานต์แบ็ทแตน
C. Rajagopalachari
ก่อนหน้าตั้งตำแหน่งใหม่
ถัดไปGulzarilal Nanda (รักษาการ)
รัฐมนตรีกระทรวงกิจการต่างประเทศแห่งอินเดีย
ดำรงตำแหน่ง
15 สิงหาคม 1947 – 27 พฤษภาคม 1964
ก่อนหน้าตั้งตำแหน่งใหม่
ถัดไปGulzarilal Nanda
รัฐฐมนตรีกระทรวงการคลังแห่งอินเดีย
ดำรงตำแหน่ง
8 ตุลาคม 1958 – 17 พฤศจิกายน 1959
ก่อนหน้าT. T. Krishnamachari
ถัดไปMorarji Desai
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889(1889-11-14)
อัลลอฮาบาด, สหมณฑลแห่งอัคราและอุธ, บริติชอินเดีย
เสียชีวิต27 พฤษภาคม ค.ศ. 1964(1964-05-27) (74 ปี)
นิวเดลี, อินเดีย
เชื้อชาติอินเดีย
ศาสนาอเทวนิยม[1][2][3]
พรรคการเมืองพรรคคองเกรสอินเดีย
คู่สมรสกมลา เนห์รู
บุตรอินทิรา คานธี
ศิษย์เก่าTrinity College, Cambridge
วิชาชีพทนายความ
ลายมือชื่อ

ชวาหะร์ลาล เนห์รู (ฮินดี: जवाहरलाल नेहरू, ชวาหรลาล เนหรู; อักษรโรมัน: Jawaharlal Nehru; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1964[4]) รัฐบุรุษของอินเดีย และประธานมนตรีคนแรก หลังได้รับเอกราชจากอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 17 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1947 จนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่งเมื่อ ค.ศ. 1964

ชวาหะร์ลาล เนห์รู เป็นผู้ใกล้ชิด และร่วมเรียกร้องเอกราชให้กับอินเดียร่วมกับมหาตมา คานธี และมักมีบทบาทโดดเด่นขึ้นจนได้รับสืบทอดเป็นทายาททางการเมือง โดยรับตำแหน่งประธานพรรคคองเกรสอินเดียสืบต่อจากคานธี

ในปี ค.ศ. 1955 เนห์รู เป็นบุคคลหลักที่ร่วมก่อตั้งขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Non-Aligned Movement - NAM) [5]

ชวาหะร์ลาล เนห์รู สมรสกับนางกมลา คาอุล มีบุตรสาวคนเดียวคือ อินทิรา เนห์รู มีหลานชายชื่อ ราชีพ คานธี บุคคลทั้งสามล้วนเป็นประธานมนตรีของอินเดีย

ดูเพิ่ม

[แก้]
  • รางวัลชวาหะร์ลาล เนห์รู

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The Montreal Gazette". Google News Archive. 9 June 1964. p. 4.
  2. Ramachandra Guha (September 23, 2003). "Inter-faith Harmony: Where Nehru and Gandhi Meet Times of India".
  3. In Jawaharlal Nehru's autobiography, An Autobiography (1936), and in the Last Will & Testament of Jawaharlal Nehru, in Selected Works of Jawaharlal Nehru, 2nd series, vol. 26, p. 612,
  4. Marlay, Ross (1999). Patriots and Tyrants: Ten Asian Leaders. Rowman & Littlefield. p. 368. ISBN 0847684423. ((cite book)): ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  5. กลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]


{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
ชวาหะร์ลาล เนห์รู
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?