For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for จารุภัทร เรืองสุวรรณ.

จารุภัทร เรืองสุวรรณ

จารุภัทร เรืองสุวรรณ
กรรมการการเลือกตั้ง
ดำรงตำแหน่ง
21 ตุลาคม พ.ศ. 2544 – 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2549
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด20 มีนาคม พ.ศ. 2487 (80 ปี)
อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
สังกัดกองทัพบกไทย
ประจำการพ.ศ. 2511 – 2547
ยศ พลเอก

พลเอก ดร.จารุภัทร เรืองสุวรรณ

[แก้]

พลเอก จารุภัทร เรืองสุวรรณ (เกิด 20 มีนาคม พ.ศ. 2487) อดีตกรรมการการเลือกตั้ง ฝ่ายกิจการพรรคการเมือง และเป็นอาของนายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ อดีตหัวหน้า พรรคเพื่อไทย[1]

การศึกษา

[แก้]

ครอบครัว

[แก้]

สมรสกับ พญ.สุรภี เรืองสุวรรณ มีบุตร 2 คน ได้แก่ นายจารุภูมิ เรืองสุวรรณ และ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ อดีตแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี พรรคเพื่อชาติ

การทำงาน

[แก้]

ตำแหน่งหน้าที่ในปัจจุบัน

[แก้]
  • ราชองครักษ์พิเศษ
  • นายทหารพิเศษประจำกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์
  • ผู้บรรยายพิเศษ วิชานโยบายสาธารณะ

ตำแหน่งหน้าที่ราชการในอดีต

[แก้]
  • ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองพันทหารราบ ศูนย์การทหารราบ
  • ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองพันที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๑ มหาตเล็กรักษาพระองค์
  • ผู้บังคับหมวด กรมนักเรียนนายร้อย รักษาพระองค์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
  • อาจารย์ส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
  • ฝ่ายเสนาธิการ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
  • ฝ่ายเสนาธิการ ประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณะจันทร์)
  • หัวหน้าศูนย์อำนวยการร่วม ๑๐๕ กองบัญชาการทหารสูงสุด
  • รองผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
  • กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ โครงการกองหนุนเพื่อความมั่นคงแห่งชาติ
  • ผู้บัญชาการสถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง
  • ที่ปรึกษาสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
  • ผู้พิพากษาศาลทหารกรุงเทพ

ตำแหน่งหน้าที่ทางพลเรือนในอดีต

[แก้]
  • ประจำสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี รัฐบาล ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
  • อำนวยการศูนย์ประสานงานและส่งเสริมธุรกิจไทยในต่างประเทศ ทำเนียบรัฐบาล
  • กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมธุรกิจไทยในต่างประเทศ (การก่อสร้างและการลงทุนในต่างประเทศ)
  • ผู้อำนวยการสำนักงานการตลาด โครงการพัฒนาตามพระราชดำริ
  • กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ โครงการสร้างงานในชนบท
  • กรรมการบริหาร การรถไฟแห่งประเทศไทย
  • กรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)

ตำแหน่งหน้าที่ราชการในอดีตที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา

[แก้]
  • เป็นผู้บรรยายและอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาทั้งของรัฐ-เอกชนหลายสถาบัน
  • อาจารย์วิชาสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ๒๕๑๔-๒๕๒๕
  • ผู้บรรยายวิชาการวัดผล-ประเมินผล คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ๒๕๒๓
  • ผู้บรรยายวิชาหลักการปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ๒๕๒๓-๒๕๒๖
  • ผู้บรรยายวิชาภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ๒๕๒๓-๒๕๒๙, ๒๕๓๔-๒๕๓๕
  • ผู้บรรยายวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ๒๕๓๗-๒๕๓๘
  • ผู้บรรยายพิเศษระดับปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ๒๕๓๗-๒๕๓๘
  • ผู้บรรยายระดับปริญญาโท วิชาการบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) มหาวิทยาลัยเกริก ๒๕๓๗-๒๕๔๒
  • ผู้บรรยายพิเศษระดับปริญญาโท วิชาการบริหารโครงการ (Project Management) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับสถาบันวิชาการ ป้องกันประเทศ ๒๕๔๐-๒๕๔๓
  • ผู้บรรยายพิเศษวิทยาลัยการทัพเรือ วิชาบทบาททหารกับการพัฒนาประเทศ ๒๕๓๕-๒๕๓๙
  • ผู้บรรยายพิเศษวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ ๑-๒ ๒๕๓๑-๒๕๓๒ (ร่วมก่อตั้งหลักสูตร ปรอ. วปอ.)
  • ผู้บรรยายระดับปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต วิชาระบบเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ๒๕๕๑-๒๕๕๓
  • ผู้บรรยายวิชา วิเคราะห์เศรษฐกิจไทยภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์
  • ผู้ริเริ่มหลักสูตรปริญญาโท ความมั่นคงร่วมสมัย และสันติภาพ ร่วมกับมหาวิทยาลัย Bristol ประเทศอังกฤษ
  • ผู้บรรยายระดับปริญญาเอกวิชาภาวะผู้นำมหาวิทยาลัยกรุงเทพ-ธนบุรี

ด้านการบริหารการศึกษา

  • รองผู้บัญชาการ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ทำหน้าที่รับผิดชอบบริหารด้านวิชาการ ปรับปรุงหลักสูตร และเป็นผู้ร่วมบรรยายวิชาประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ๒๕๔๐-๒๕๔๑
  • ผู้บัญชาการสถาบันวิชาการทหารบกขั้นสูง บริหารสถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง กองทัพบก โดยมีหน่วยขึ้นตรง ๓ สถาบัน คือ วิทยาลัยการทัพบก โรงเรียนเสนาธิการทหารบท และสถาบันวิจัยยุทธศาสตร์กองทัพบท ๒๕๔๐-๒๕๔๔
  • ในขณะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการสถาบันวิชาการทหารบทชั้นสูง ได้ริเริ่มและพัฒนาหลักสูตรปริญญาโทด้านการบริหารสันติภาพและความขัดแย้ง (Peace and Conflict Management) ตามโครงการความร่วมมือระหว่างโรงเรียนเสนาธิการทหารบก กับมหาวิทยาลัยเพื่อสันติภาพแห่งสหประชาชาติ (University for Peace of UN) ๒๕๔๑
  • ในขณะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการสถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง ได้จัดการประชุมระหว่างประเทศด้านบริหารความขัดแย้งร่วมกับมหาวิทยาลัยสันติภาพแห่งสหประชาชาติ และมหาวิทยาลัยมหิดล และได้รับเชิญจากสถาบัน APCSS สหรัฐอเมริกา ให้เป็นผู้นำเสนอบทความเรื่องบทบาททหารในการสร้างสันติภาพใน
  • การประชุมสัมมนาของสถาบันยุทธศาสตร์ของสหรัฐ (APCSS) ณ มลรัฐ Hawii ๒๕๔๒-๒๕๔๔
  • ที่ปรึกษาสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ได้ร่วมสัมมนาศึกษาดูงานกับกองทัพฟินแลนด์ เรื่องสันติภาพและการบริหารความขัดแย้ง ณ เมืองนินนิชาโร่ ประเทศฟินแลนด์ ๒๕๔๔
  • คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ๒๕๕๑-๒๕๕๓
  • ผู้อำนวยการหลักสูตรเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ๒๕๕๑-๒๕๕๓
  • รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ๒๕๕๔

การร่วมประชุมระหว่างประเทศ

[แก้]

ได้เข้าร่วมประชุมทางวิชาการระหว่างประเทศหลายครั้ง อาทิ

  • การประชุม Symposium ของ National Defence University at Fort McNair Washington D.C. นำเสนอบทความเรื่อง Agricultural and Regional Security
  • การประชุม Biennial Conference เรื่อง Asia-Pacific Studies in a Time of Economic Recovery ณ ศูนย์ยุทธศาสตร์เพื่อความมั่นคงแห่งภาคพื้นแปซิฟิก (Asia-Pacific Center for Security Studies) มลรัฐ Hawaii สหรัฐอเมริกา นำเสนอบทความทางวิชาการเรื่อง The Role of Military in Transnational Security เมื่อ ๓๐ ส.ค.-๒ ก. ย. ๒๕๔๒
  • การประชุมครั้งที่ ๔๕ ของ Asia-Pacific League for Freedom and Democracy ณ กรุง Brisbane ประเทศออสเตรเลีย นำเสนอบทความเรื่อง THailand and Transnational Security
  • การประชุมเรื่อง Evolving Roles of the Military in the Asia-Pacific ณ ศูนย์ยุทธศาสตร์เพื่อความมั่นคงแห่งภาคพื้นแปซิฟิก (Asia-Pacific Center for Security Studies) มลรัฐ Hawaii สหรัฐอเมริการ นำเสนอบทความวิชาการเรื่อง Military Roles in Facing Transnational Security Threats เมื่อวันที่ ๘-๑๐ ส.ค. ๒๕๔๓
  • การประชุมร่วมกับมหาวิทยาลัยเพื่อสันติภาพแห่งสหประชาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง The Evolving Role of the Miliotarty: an Informal Meeting to Discuss Cooperation in Education, Training and Research to Prevent Conflict and Promote Peaceful Relations ณ กรุงเทพฯ เมือ ๑๓-๑๕ มิ.ย.๒๕๔๔
  • การประชุมของมหาวิทยาลัยเพื่อสันติภาพแห่งสหประชาชาติ กับ มหาวิทยาลัยชิงหัวแห่งกรุงปักกิ่ง เรื่อง The Meeting of the Asia Pacific Network of University and Institutions for Conflict Prevention and Peace Building in Beijing, China นำเสนอบทความเรื่อง The Third-Siders for Peace and Conflict Prevention เมื่อ ๒๒-๒๓ พ.ค. ๒๕๔๕

การเจรจาการค้า-การลงทุนและการก่อสร้าง-แรงงาน ระหว่างประเทศ

[แก้]
  • ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมธุรกิจไทยในต่างประเทศ ทำเนียบรัฐบาล (๒๕๒๕-๒๕๒๗)
  • เจรจาการค้า - การลงทุนและการธนาคารกับธนาคารกลางของ Saudi Arabia (SAMA) เรื่องการค้างประกันการลงทุนและการขึ้นบัญชีธนาคารไทยในบัญชีรายชื่อธนาคารต่างประเทศที่สามารถค้ำประกันการลงทุนและการก่อสร้างใน Saudi Arabia
  • การเจรจาการค้า - การลงทุนกับหอการค้าแห่งเมือง Jedah, Dahran เพื่อขยายฐานเศรษฐกิจการค้าไทยใน Saudi Arabia และตะวันออกกลาง
  • เจราจาการค้า - การลงทุนกับหอการค้าและกระทรวงพาณิชย์แห่งประเทศ Jordan, Bahrain และ Israel
  • เจรจาการค้า - การลงทุนกับกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม และหอการค้าของพม่า ออสเตรเลีย ปาปัวนิวกีนี อิรัค คูเวต ฯลฯ

โครงการและผลงานบางประการที่เป็นผู้มีส่วนริเริ่ม

[แก้]
  • โครงการกองหนุนเพื่อความมั่นคงแห่งชาติ
  • โครงการศึกษาระดับปริญญาโท วิชาสันติภาพและการบริหารความขัดแย้ง โรงเรียนเสนาธิการทหารบกร่วมกับมหาวิทยาลัยเพื่อสันติภาพแห่งสหประชาชาติและมหาวิทยาลัยมหิดล
  • โครงการศึกษาระดับปริญญาโทด้านความมั่นคงร่วมสมัยและสันติภาพ ร่วมกับมหาวิทยาลัย Bristol แห่งประเทศอังกฤษ

งานเขียน - วิทยานิพนธ์

[แก้]
  • Peaceful Uses of Military Forces for National Development in Thailand 1977
  • ทหาร การศึกษา และการพัฒนา พ.ศ. ๒๕๓๔
  • แนวทางการสร้างสันติภาพ พ.ศ. ๒๕๓๕
  • ทหารกับการพัฒนาประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๗
  • ชนะเลือกตั้งได้อย่างไร พ.ศ. ๒๕๓๘
  • พลเอก สายหยุด เกิดผล : แนวคิดและผลงานนักคิดอาวุโส สกว. พ.ศ. ๒๕๓๘
  • The Peaceful Uses of the Military Forces, June 2001
  • Asia Pacific Security Threats in the New Millennium 1999-2001

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ในที่สุดวันของ "วสันต์" ก็มาถึงจนได้[ลิงก์เสีย]
  2. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย, เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๒๒ ข หน้า ๒, ๔ ธันวาคม ๒๕๔๔
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๒๓ ข หน้า ๗, ๒ ธันวาคม ๒๕๔๑
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๑๙ ข หน้า ๑๘, ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๔
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๑๗ ตอนที่ ๔ ข หน้า ๑๙, ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
จารุภัทร เรืองสุวรรณ
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?