For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for การอุปลักษณ์เดสก์ท็อป.

การอุปลักษณ์เดสก์ท็อป

เรามักอุปลักษณ์ ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ของคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นภาพมุมสูง (top) ของโต๊ะเขียนหนังสือ (desk)

ในการคอมพิวเตอร์ การอุปลักษณ์เดสก์ท็อป เป็นการอุปลักษณ์ส่วนต่อประสานแบบหนึ่ง ที่ใช้ในส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้โต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น [1] การอุปลักษณ์เดสก์ท็อปเรียกจอภาพว่าเป็นภาพมุมสูง (top) ของโต๊ะเขียนหนังสือ (desk) การอุปลักษณ์เดสก์ท็อปได้รับการอิมพลีเมนต์อยู่ในสิ่งแวดล้อมเดสก์ท็อปจำนวนมาก

ความเป็นมา

[แก้]

คณะผู้สร้างแนวคิดการอุปลักษณ์เดสก์ท็อป คือ Alan Kay, David C. Smith และคณะ ที่ Xerox PARC ในปีค.ศ. 1970 โดยมีการอธิบายแนวคิดนี้อย่างละเอียดในชุดแอปพลิเคชันซอฟต์แวร์อันเป็นนวัตกรรมใหม่ที่พัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์ของ PARC ตลอดทศวรรษต่อมา คอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่ใช้การอุปลักษณ์เดสก์ท็อปเวอร์ชันแรกๆ คือเครื่อง Xerox Alto รุ่นทดลอง [2] [3] และคอมพิวเตอร์เชิงพาณิชย์เครื่องแรกที่ใช้ส่วนต่อประสานประเภทนี้คือ Xerox Star การใช้ตัวควบคุมหน้าต่าง เพื่อล้อมรอบข้อมูลที่เกี่ยวข้องมีมาก่อนการอุปลักษณ์เดสก์ท็อป โดยมีเวอร์ชันดั้งเดิมปรากฏใน "มารดาแห่งการสาธิตทั้งหมด" (The Mother of All Demos) ของ ดักลาส เองเกลบาร์ต [4] แม้ว่า PARC จะรวมไว้ในสภาพแวดล้อมของภาษาสมอลล์ทอล์กก็ตาม [5]

กระบวนทัศน์กระดาษ

[แก้]
ไฟล์:Xerox Star applications.jpg
Xerox Star กำลังแสดงแอพพลิเคชั่นและไอคอนบนเดสก์ท็อป
สิ่งแวดล้อมเดสก์ท็อปมาเต ทำงานบนเดเบียน กำลังแสดงเดสก์ท็อป เมนูแอปพลิเคชัน และหน้าต่าง "เกี่ยวกับมาเต"

กระบวนทัศน์กระดาษ หมายถึง กระบวนทัศน์ที่ใช้โดยคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสมัยใหม่ส่วนใหญ่ กระบวนทัศน์กระดาษประกอบด้วยข้อความสีดำบนพื้นหลังสีขาว ไฟล์ภายในโฟลเดอร์ และ "เดสก์ท็อป" กระบวนทัศน์กระดาษถูกสร้างขึ้นโดยบุคคลและองค์กรจำนวนมาก เช่น ดักลาส เองเกลบาร์ต, Xerox PARC และ Apple Computer นับเป็นความพยายามที่จะทำให้คอมพิวเตอร์เป็นมิตรกับผู้ใช้มากขึ้นโดยทำให้มีลักษณะคล้ายกับสถานที่ทำงานทั่วไปในยุคนั้น (ด้วยกระดาษ แฟ้ม และเดสก์ท็อป) [6] เอนเกลบาร์ตนำเสนอต่อสาธารณะเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2511 ในสิ่งที่ปัจจุบันเรียกว่า "มารดาแห่งการสาธิตทั้งหมด"

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Desktop Metaphor". www.csdl.tamu.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-02-22. สืบค้นเมื่อ 2011-06-09.
  2. Koved, Larry; Selker, Ted (1999). "Room with a view (RWAV): A metaphor for interactive computing". IBM TJ Watson Research Center. CiteSeerx10.1.1.22.1340.
  3. Thacker, Charles P., et al. Alto: A personal computer. Xerox, Palo Alto Research Center, 1979.
  4. Reimer, Jeremy (2005). "A History of the GUI (Part 2)". Ars Technica. สืบค้นเมื่อ 2009-09-14.
  5. Reimer, Jeremy (2005). "A History of the GUI (Part 3)". Ars Technica. สืบค้นเมื่อ 2009-09-14.
  6. "Realworld Desk".
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
การอุปลักษณ์เดสก์ท็อป
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?