For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for การวิจัยโรคมะเร็ง.

การวิจัยโรคมะเร็ง

โรงพยาบาลมะเร็งมหาวิทยาลัยฟลอริดา

การวิจัยโรคมะเร็ง (อังกฤษ: Cancer research) เป็นการวิจัยพื้นฐานด้านมะเร็งเพื่อหาสาเหตุและพัฒนากลยุทธ์สำหรับการป้องกัน, การวินิจฉัย, การรักษา และการฟื้นฟู

การวิจัยโรคมะเร็งในด้านต้นกำเนิดและการพัฒนาของเชื้อโรค, ชีววิทยาศาสตร์โมเลกุลเพื่อการวิจัยเชิงทดลองทางคลินิกที่มีประสิทธิภาพในการประเมินและเปรียบเทียบประยุกต์การรักษาโรคมะเร็งต่าง ๆ การดำเนินเหล่านี้ประกอบด้วยศัลยศาสตร์, รังสีบำบัด, เคมีบำบัด, ฮอร์โมนบำบัด, ภูมิคุ้มกันบำบัด และรังสีบำบัดร่วม เช่น การให้เคมีบำบัดร่วมกับการฉายแสง โดยได้มีการเริ่มขึ้นในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 โดยมุ่งเน้นในการวิจัยโรคมะเร็งทางคลินิกขยับสู่การรักษาที่ได้มาจากการวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ ดังเช่น ภูมิคุ้มกันบำบัด และยีนบำบัด

เขตการวิจัย

[แก้]

สาเหตุ

[แก้]

ประเภทของการวิจัยนี้เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่แตกต่างกันมากมาย ซึ่งประกอบด้วย พันธุศาสตร์, อาหาร, ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม (นั่นคือ สารก่อมะเร็งทางเคมี) ในเรื่องการตรวจสอบข้อเท็จจริงของสาเหตุและเป้าหมายที่มีศักยภาพสำหรับการบำบัด แนวทางที่ใช้เริ่มต้นด้วยข้อมูลที่ได้จากการสังเกตทางคลินิก, เข้าสู่การวิจัยพื้นฐาน และเมื่อผลที่น่าเชื่อถือและได้รับการยืนยันอย่างเป็นกลางประสบผลสำเร็จ สิ่งที่ได้จากการวิจัยทางคลินิก ก็จะใช้เพื่อจุดมุ่งหมายสำหรับทดสอบการป้องกันและวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพ ส่วนหนึ่งที่สำคัญของการวิจัยพื้นฐาน คือ ลักษณะของการทำงานที่มีศักยภาพถึงกลไกการเกิดมะเร็ง ในเรื่องที่เกี่ยวกับชนิดของการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม และพันธุศาสตร์ด้านกระบวนการเหนือพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเติบโตของโรคมะเร็ง หนูมักจะใช้เป็นเครื่องทดลองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนสำหรับการทดลองการทำงานของยีนที่มีบทบาทในการก่อตัวของเนื้องอก ในขณะที่ด้านพื้นฐานการก่อตัวของเนื้องอก ดังเช่น กระบวนการที่ทำให้เกิดการก่อกลายพันธุ์ ได้มีการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเพาะเชื้อแบคทีเรียและเซลล์ของสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม

ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้

เซลล์ชนิดสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของมะเร็ง

[แก้]

มีเซลล์ต่าง ๆ หลายประเภทที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเนื้องอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเซลล์เอนโดทีเลียมโปรเจนนิเตอร์ซึ่งเป็นเซลล์หลักที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเนื้องอกในเส้นเลือด การค้นพบนี้ได้มีการแสดงให้เห็นทางวารสารที่มีอิทธิพลสูงอย่าง ไซน์ (ค.ศ. 2008) และ ยีนแอนด์ดีเวลลอปเมนต์ (ค.ศ. 2007) ซึ่งยังพบว่าเซลล์เอนโดธีเลียมโปรเจนนิเตอร์ต่างมีส่วนในการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง และการเพิ่มจำนวนของเครือข่ายของเส้นเลือดที่แทรกซึมเข้าไปในการเจริญเติบโตของมะเร็ง[1][2] ส่วนหลักของเซลล์เอนโดธีเลียมโปรเจนนิเตอร์ในการเจริญเติบโตของเนื้องอกและการเพิ่มจำนวนของเครือข่ายของเส้นเลือดที่แทรกซึมเข้าไปในการเจริญเติบโตของมะเร็งได้รับการยืนยันจากสื่อสิ่งพิมพ์เมื่อเร็ว ๆ นี้อย่าง แคนเซอร์รีเซิร์ช (สิงหาคม ค.ศ. 2010) รายงานที่น่าเชื่อถือนี้ได้แสดงให้เห็นว่าเซลล์เอนโดธีเลียมโปรเจนนิเตอร์สามารถโดดเด่นได้โดยใช้อินฮิบิเตอร์ออฟดีเอ็นเอไบน์ดิง 1 (ไอดี 1) การค้นพบใหม่นี้หมายความว่านักวิจัยมีความสามารถในการติดตามเซลล์เอนโดธีเลียมโปรเจนนิเตอร์จากไขกระดูกจนถึงโลหิตสู่เนื้องอกของสโตรมาและแม้กระทั่งเนื้องอกของหลอดเลือด การค้นพบเซลล์เอนโดทีเลียมโปรเจนนิเตอร์ได้รวมเข้าด้วยกันในเนื้องอกของหลอดเลือด โดยได้แสดงให้เห็นว่าเป็นส่วนหลักของเซลล์ชนิดนี้ในพัฒนาการทางเส้นโลหิตที่บริเวณของเนื้องอก นอกจากนี้ การตัดเอาออกของเซลล์โปรเจนนิเตอร์ในไขกระดูกได้นำไปสู่การลดอย่างมีนัยสำคัญในการเจริญเติบโตของเนื้องอกและการพัฒนาของเส้นเลือด ด้วยเหตุนี้ เซลล์เอนโดธีเลียมโปรเจนนิเตอร์จึงมีความสำคัญอย่างมากในชีววิทยาเนื้องอกและเป็นเป้าหมายใหม่ของการรักษาแผนปัจจุบัน[3]

องค์กร

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Gao D; และคณะ (2008). "Endothelial Progenitor Cells Control the Angiogenic Switch in Mouse Lung Metastasis". Science. 319 (5860): 195–198. doi:10.1126/science.1150224. PMID 18187653.
  2. Nolan DJ; และคณะ (2007). "Bone marrow-derived endothelial progenitor cells are a major determinant of nascent tumor neovascularization". Genes & Development. 21 (12): 1546–1558. doi:10.1101/gad.436307. PMC 1891431. PMID 17575055.
  3. Mellick As, Plummer PN; และคณะ (2010). "Using the Transcription Factor Inhibitor of DNA Binding 1 to Selectively Target Endothelial Progenitor Cells Offers Novel Strategies to Inhibit Tumor Angiogenesis and Growth". Cancer Research. 70 (18): 7273–7282. doi:10.1158/0008-5472.CAN-10-1142. PMC 3058751. PMID 20807818.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
การวิจัยโรคมะเร็ง
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?