For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for กองทัพบกนิวซีแลนด์.

กองทัพบกนิวซีแลนด์

กองทัพบกนิวซีแลนด์
New Zealand Army
Ngāti Tumatauenga
ตรากองทัพบกนิวซีแลนด์
ประเทศ นิวซีแลนด์
รูปแบบกองทัพบก
บทบาทสงครามทางบก
กำลังรบกำลังพล: 6,492
  • กองประจำการ 4,539 นาย
  • กำลังพลสำรอง 1,569 นาย
  • พลเรือน 384 คน
กองบัญชาการเวลลิงตัน
สีหน่วยสีแดงและดำ
วันสถาปนาวันแอนแซก
ปฏิบัติการสำคัญสงครามนิวซีแลนด์
สงครามโบเออร์ครั้งที่สอง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่สอง
วิกฤตการณ์มาลายา
สงครามเกาหลี
กรณีพิพาทอินโด-มาเลเซีย
สงครามเวียดนาม
สงครามอ่าว
สงครามกลางเมืองโซมาเลีย
สงครามยูโกสลาเวีย
วิกฤตการณ์ติมอร์ตะวันออก
สงครามกลางเมืองหมู่เกาะโซโลมอน
สงครามอิรัก
สงครามอัฟกานิสถาน
ผู้บังคับบัญชา
Chief of Defence ForceLieutenant General Tim Keating
Chief of ArmyMajor General Peter Kelly
Commander-in-ChiefDame Patsy Reddy
(Governor-General of New Zealand)

กองทัพบกนิวซีแลนด์ (อังกฤษ: New Zealand Army) (เมารี: Ngāti Tūmatauenga, "Tribe of the God of War") เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารบนพื้นที่ทางบกของประเทศนิวซีแลนด์ เป็นส่วนหนึ่งของกองทัพนิวซีแลนด์ กองทัพบกนิวซีแลนด์ถือเป็นเหล่าทัพที่มีจำนวนบุคลากรประจำการจำนวนมากที่สุดในกองทัพนิวซีแลนด์

ประวัติ

[แก้]

เครื่องแบบ

[แก้]

ยุทธภัณฑ์

[แก้]

กองทัพบกนิวซีแลนด์ใช้อาวุธจากบริษัทผู้ผลิตอาวุธจากประเทศสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป รวมถึงจากประเทศออสเตรเลียและแคนาดา

อาวุธประจำกายทหารราบ

[แก้]

ปืนไรเฟิล

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท ขนาด รูป ข้อมูล
F88 Austeyr ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ปืนเล็กยาวจู่โจมแบบบลูพับ 5.56×45 มม. นาโต้ ปืนเล็กยาวมาตรฐานของกองทัพนิวซีแลนด์ ประจำการตั้งแต่ปี ค.ศ. 1988 จนถึง ค.ศ. 2017 ปืน AUG 5,000 กระบอกแรกของกองทัพบกนิวซีแลนด์ผลิตในประเทศออสเตรียโดยบริษัท Steyr ที่เหลือเป็นปืนที่ผลิตในประเทศออสเตรเลียที่ผลิตภายใต้ลิขสิทธิ์ของบริษัท Steyr ในชื่อว่า F88 Austeyr ปัจจุบันถูกทดแทนโดยปืนเล็กยาวที่ใหม่กว่าอย่าง LMT MARS-L แต่ยังคงสถานะสำรองคลังและใช้เป็นปืนฝึกทหารใหม่
M4 Carbine  สหรัฐ ปืนเล็กยาวอัตโนมัติ 5.56×45 มม. นาโต้ ใช้โดยหน่วยรบพิเศษ NZSAS ของกองทัพนิวซีแลนด์
LMT MARS-L  สหรัฐ ปืนเล็กยาวจู่โจม 5.56×45 มม. นาโต้ ปืนเล็กยาวมาตรฐานแบบใหม่ของกองทัพนิวซีแลนด์ เริ่มประจำการในปี ค.ศ. 2015 เพื่อทดแทน F88 Austeyr ผลิตโดยบริษัท Lewis Machine and Tool ประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้ทั้งเหล่าทหารราบปกติและหน่วยรบพิเศษ NZSAS

ปืนไรเฟิลซุ่มยิง

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท ขนาด รูป ข้อมูล
Accuracy International Arctic Warfare ธงของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร ปืนไรเฟิลซุ่มยิง 7.62×51 มม. นาโต้ ปืนไรเฟิลซุ่มยิงมาตรฐานกองทัพ กำลังถูกทยอยทดแทนโดย Barrett MRAD
LMT 308 MWS  สหรัฐ ปืนไรเฟิลซุ่มยิง 7.62×51 มม. นาโต้ ประจำการในกองทัพนิวซีแลนด์ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2011 มีความแตกต่างจากรุ่นของกองทัพอังกฤษโดยใช้กล้องเล็งแบบ Leupold กำลังขยาย 4.5-14 เท่า พร้อมกับศูนย์เล็ง iron sight แบบเอียงและกริบมือแบบพับได้
Barrett MRAD  สหรัฐ ปืนไรเฟิลซุ่มยิง 7.62×51 มม. นาโต้ เริ่มประจำการในปี ค.ศ. 2018 ปืนไรเฟิลซุ่มยิงมาตรฐานแบบใหม่ของกองทัพนิวซีแลนด์ อยู่ระหว่างการทยอยทดแทน Accuracy International Arctic Warfare ปืนมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์คำนวนวิธีกระสุนติดบนกล้องเล็งแบบ Barrett Optical Ranging System หรือ BORS
Barrett M107A1  สหรัฐ ปืนไรเฟิลต่อต้านยานเกราะ 12.7×99 มม. นาโต้ เริ่มประจำการในปี ค.ศ. 2018 ปืนซุ่มยิงต่อต้านยานเกราะกึ่งอัตโนมัติ ใช้กระสุนขนาด 12.7x99 มม. นาโต้ ปืนมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์คำนวนวิธีกระสุนติดบนกล้องเล็งแบบ Barrett Optical Ranging System หรือ BORS

ปืนกล

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท ขนาด รูป ข้อมูล
7.62 LSW Minimi ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม ปืนกลประจำหมู่ 7.62×51 มม. นาโต้ ประจำการในปี ค.ศ. 1988 กองทัพนิวซีแลนด์ใช้รุ่นย่อย C9 Minimi เป็นปืนกลเบาประจำหมู่ ต่อมาในปี 2012 จึงได้จัดหา Minimi รุ่นใหม่อย่าง 7.62 Minimi TR เพื่อแทนรุ่น C9 Minimi ทั้งหมด ในชื่อว่า 7.62 LSW Minimi
FN MAG 58 ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม ปืนกลอเนกประสงค์ 7.62×51 มม. นาโต้ กองทัพนิวซีแลนด์จัดหา FN MAG-58 ในเวอร์ชันของสหราชอาณาจักรแบบ L7A2 ในปี ค.ศ. 1976 ต่อมาได้จัดหามาอีกหลายเวอร์ชัน เริ่มแรกติดตั้งในรถหุ้มเกราะต่อต้านทหารราบแบบ NZLAV ต่อมาได้กระจายลงสู่เหล่าทหารราบและติดตั้งบนเฮลิคอปเตอร์ในเวลาต่อมา
Browning M2HB-QCB  สหรัฐ ปืนกลหนัก 12.7×99 มม. นาโต้ ติดตั้งบนยานพาหนะหุ้มเกราะ

ปืนสั้น

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท ขนาด รูป ข้อมูล
Glock ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย ปืนสั้นกึ่งอัตโนมัติ 9×19 มม. นาโต้ ปืนพกมาตรฐาน

ปืนลูกซอง

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท ขนาด รูป ข้อมูล
Benelli M3 ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี ปืนลูกซอง 12-gauge เข้าประจำการในกองทัพนิวซีแลนด์ในปี ค.ศ. 2006

เครื่องยิงลูกระเบิด

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท ขนาด รูป ข้อมูล
M203 grenade launcher  สหรัฐ เครื่องยิงลูกระเบิด 40×46 มม. เครื่องยิงลูกระเบิดมาตรฐานประจำหมู่ทหารราบ สามารถติดตั้งกับปืนเล็กยาวจู่โจมได้
Heckler & Koch GMG ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติ 40×53 มม. เครื่องยิงลูกระเบิดอัตโนมัติ ไม่ทราบจำนวนประจำการที่ชัดเจน

อาวุธหนัก

[แก้]

อาวุธต่อต้านยานเกราะ

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท ขนาด รูป ข้อมูล
Mistral MANPADS ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส อาวุธนำวิถีต่อต้านอากาศยานพื้นสู่อากาศ 90 มม. จำนวน 12 ระบบ
M72 LAW  สหรัฐ จรวดต่อต้านรถถัง 66 มม. จรวดต่อต้านรถถังแบบยิงแล้วทิ้ง
L14A1 Carl Gustav ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน ปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลัง 84 มม. จำนวน 24 กระบอก
FGM-148 Javelin  สหรัฐ อาวุธนำวิถีต่อต้านรถถัง 127 มม. จำนวน 24 กระบอก

ปืนครก

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท ขนาด รูป ข้อมูล
F2 81mm Mortar  สหราชอาณาจักร
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
ปืนครก 81 มม. จำนวน 50 กระบอก

ปืนใหญ่

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท ขนาด รูป ข้อมูล
L118  สหราชอาณาจักร ปืนใหญ่สนาม 105 มม. จำนวน 24 กระบอก

ยานพาหนะ

[แก้]

ยานเกราะต่อสู้ทหารราบ

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท จำนวน รูป ข้อมูล
NZLAV ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา ยานเกราะต่อสู้ทหารราบ 105 คัน จัดหามาจากแคนาดาเพื่อทดแทน M113 102 คันเป็นเวอร์ชันปกติ ส่วนอีก 3 คันเป็นเวอร์ชันกู้ซ่อมแบบ LAV-R

รถลาดตระเวนเคลื่อนที่เร็ว

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท จำนวน รูป ข้อมูล
Super Cat HMT Extenda Mk.2  สหราชอาณาจักร รถลาดตระเวนเคลื่อนที่เร็ว ไม่ระบุจำนวน ใช้โดยหน่วยรบพิเศษกองทัพนิวซีแลนด์ NZSAS ไม่ระบุจำนวน มูลค่าโครงการกว่า 28 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

รถสนับสนุน

[แก้]
ชื่อ ประเทศ ประเภท จำนวน รูป ข้อมูล
Pinzgauer ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย รถปฎิบัติการเบาอเนกประสงค์ 321 คัน ใช้ในการบรรทุกยุทธภัณฑ์น้ำหนักเบา, รถพยาบาล, ปฎิบัติการพิเศษ
MAN HX ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี รถปฎิบัติการหนักอเนกประสงค์ 194 คัน ใช้ในการบรรทุกยุทธภัณฑ์กลางถึงหนัก
{{bottomLinkPreText}} {{bottomLinkText}}
กองทัพบกนิวซีแลนด์
Listen to this article

This browser is not supported by Wikiwand :(
Wikiwand requires a browser with modern capabilities in order to provide you with the best reading experience.
Please download and use one of the following browsers:

This article was just edited, click to reload
This article has been deleted on Wikipedia (Why?)

Back to homepage

Please click Add in the dialog above
Please click Allow in the top-left corner,
then click Install Now in the dialog
Please click Open in the download dialog,
then click Install
Please click the "Downloads" icon in the Safari toolbar, open the first download in the list,
then click Install
{{::$root.activation.text}}

Install Wikiwand

Install on Chrome Install on Firefox
Don't forget to rate us

Tell your friends about Wikiwand!

Gmail Facebook Twitter Link

Enjoying Wikiwand?

Tell your friends and spread the love:
Share on Gmail Share on Facebook Share on Twitter Share on Buffer

Our magic isn't perfect

You can help our automatic cover photo selection by reporting an unsuitable photo.

This photo is visually disturbing This photo is not a good choice

Thank you for helping!


Your input will affect cover photo selection, along with input from other users.

X

Get ready for Wikiwand 2.0 🎉! the new version arrives on September 1st! Don't want to wait?